Draft Amendment to the Anti-Money Laundering Act B.E. 2452 (1999)

For optimal readability, we highly recommend downloading the document PDF, which you can do below.

Document Information:


บันทึกหลักการและเหตุผล
ประกอบร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. ….

หลักการ
แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ดังต่อไปนี้
( ๑ ) แ ก้ ไ ข เ พิ่ ม เ ติ ม บ ท นิ ย า ม ค า ว่ า “ค ว า ม ผิ ด มู ล ฐ า น ” “สถาบั นการเงิ น ” และเพิ่ ม
บทนิยามค าว่า “ผู้ประกอบอาชีพ ” “ ผู้มีหน้าที่รายงาน ” “ ความสัมพันธ์ทางธุรกิจ ” “ธุรกรรมเป็นครั้งคราว ”
“ลูกค้า ” “บริษัทในเครือ ” และ “กลุ่มธุรกิจทางการเงิน ” (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๓)
(๒) แก้ไขชื่อหมวด ๒ จาก “การรายงานและการแสดงตน ” เป็น “การป้องกันการฟอกเงิน
การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพท าลายล้างสูง ”
(๓) แก้ไขเพิ่มเติมหลักเกณฑ์การควบคุมการขนเงินตรา เงินตราต่างประเทศ และตราสาร
เปลี่ยนมือข้ามแดนเพื่อป้องกันการฟอกเงิน การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายหรือการแพร่ขยาย อาวุธ
ที่มีอานุภาพท าลายล้างสูง และก าหนดหน้าที่และอ านาจของพนักงานศุลกากร (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๑๕/๑
และเพิ่มมาตรา ๑๕/๒)
(๔) แก้ไขเพิ่มเติม ประเภทธุรกรรมที่ผู้ประกอบอาชีพต้องรายงาน (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๑๖)
(๕) ก าหนดหน้าที่สมาคม มูลนิธิ และองค์กรไม่แสวงหาก าไร รวมถึงห น้าที่และอ านาจของ
ห น่ ว ย ง า น ใ น ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ก า กั บ ดู แ ล ส ม า ค ม มู ล นิ ธิ แ ล ะ อ ง ค์ ก ร ไ ม่ แ ส ว ง ห า ก า ไ ร ดั ง ก ล่ า ว
เพื่อป้องกันการฟอกเงิน การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายหรือการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพ
ท าลายล้างสูง (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๑๖/๑)
(๖ ) แ ก้ไขเ พิ่ ม เ ติ ม ผู้ มี อ า น า จ ใ น กา ร ก า ห น ด แ บ บ ร ะย ะเ ว ล า ห ลั กเ กณฑ์แ ล ะวิ ธี ก า ร
ในการรายงาน (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๑๗)
(๗) แก้ไขเพิ่มเติม บทคุ้มครอง ผู้มีหน้า ที่รายงานและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการ ปฏิบัติหน้าที่
ตามกฎหมาย ซึ่งกระท าการ โดยสุจริต (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๑๙)
(๘) ปรับปรุง หลักเกณฑ์การแสดงตนและการตรวจสอบ เพื่อทราบ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับลูกค้า
(ยกเลิก มาตรา ๒๐ และ แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา ๒๐/๑)
(๙) แก้ไขเพิ่มเติมให้ผู้ประกอบอาชีพต้องบันทึกข้อเท็จจริงต่างๆ เกี่ยวกับธุรกรรมเช่นเดียวกับ
สถาบันการเงิน (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๒๑)
(๑๐) แก้ไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับการห้ ามผู้มีหน้าที่รายงาน ในการ ท าให้ลูกค้าทราบเกี่ยวกับ
การรายงานธุรกรรมที่มีเหตุอันควรสงสัยหรือการส่งข้ อมูลอื่นใดที่เกี่ยวข้อง กับธุรกรรมดังกล่าว ไปยังส านักงาน
(แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๒๑/๑)

(๑๑) แก้ไขเพิ่มเติมใ ห้ผู้มีหน้าที่รายงานสามารถระงับการท าธุรกรรมของลูกค้าในกรณีที่พบว่า
ธุรกรรมของลูกค้าเกี่ยวข้องกับการกระท าความผิดมูลฐานหรือความผิด ฐาน ฟอกเงินได้ ก่อนส่งเรื่อ งให้ส านักงาน
ด าเนินการต่อไปเพื่อป้องกันการยักย้ายทรัพย์สิน (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๒๑/๒)
( ๑ ๒ ) ย ก เ ลิ ก ข้ อ ก า ห น ด ที่ ใ ห้ ผู้ มี ห น้ า ที่ ร า ย ง า น ต้ อ ง จั ด ใ ห้ พ นั ก ง า น ห รื อ บุ ค ล า ก ร
ของผู้มีหน้าที่รายงานต้องเข้ารับการฝึกอบรมและทบทวนความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
เนื่ องจากข้อก าหนดดังกล่าวถูกน าไปรวมอยู่ในมาตรการควบคุมภายในตามมาตรา ๒๐/๑ แล้ว (ยกเลิก
มาตรา ๒๑/๓)
(๑๓) แก้ไขเพิ่มเติมหลักเกณฑ์การเก็บรักษารายละเอียดของข้อมูลหรือเอกสารเกี่ยวกับ
การตรวจสอบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับลูกค้า การท าธุรกรรมและการบันทึกข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการท าธุรกรรมและ
ระยะเวลาการเก็บรักษารายละเอียดของข้อมูลหรือเอกสารดังกล่าว (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๒๒ และยกเลิก
มาตรา ๒๒/๑)
(๑๔) ก าหนดอ านาจของส านักงานในการก ากับและตรวจสอบผู้มีหน้ าที่รายงาน (เพิ่ม
หมวด ๒/๑ และเพิ่มมาตรา ๒๓/๑ มาตรา ๒๓/๒ มาตรา ๒๓/๓ และ มาตรา ๒๓/๔)
(๑๕) แก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบ คุ ณสมบัติของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ การมอบหมายผู้แทน
เข้าร่วมประชุม ปรับปรุง หน้าที่และอ านาจของคณะกรรมการ รวมถึงการก าหนดความต่อเนื่องในการปฏิบัติ
หน้าที่ของคณะกรรมการกรณีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต าแหน่งก่อนครบวาระ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๒๔ (๒)
มาตรา ๒๔ วรรคสองและวรรคสี่ มาตรา ๒๔/๒ (๖) มาตรา ๒๕ (๓) มา ตรา ๒๗ วรรคสอง และ ยกเลิก
มาตรา ๒๔/๒ (๓) )
(๑๖ ) เพิ่มเติมอ านาจกรรมการธุรกรรม เลขาธิการ และพนักงานเจ้าหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย
เป็นหนังสือจากเลขาธิการ ในการรวบรวมพยานหลักฐานและพยานหลักฐานทางคอมพิวเตอร์ เพื่อประโยชน์
ในการตรวจสอบหรือเพื่อประกอบการพิจารณา (เพิ่ม (๒/๑) ของวรรคหนึ่งข องมาตรา ๓๘)
(๑๗) แก้ไขเพิ่มเติมหน้าที่และอ านาจของส านักงานให้มีความ ชัดเจน สอดคล้องกับภารกิจ ตาม
มาตรฐานสากล และสถานการณ์ ปัจจุบัน (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๔๐)
(๑๘ ) ก าหนด อ านาจของ คณะกรรมการ ในการ ออกระเบียบเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายและวิธีการ
เบิกจ่าย เพื่อ ด าเนินการ ต่างๆ ตาม ภารกิจที่ กฎหมาย ก าหนดให้เป็นหน้าที่และอ านาจของส านักงาน โดย ได้รับ
ความเห็นชอบ จาก กระทรวงการคลัง (เพิ่มมาตรา ๔๖/๔)
(๑๙ ) แ ก้ไขเ พิ่ มเ ติ มห ลั กเ กณฑ์แ ล ะเ งื่ อน ไขกา ร ขอให้ เ พิ กถอน กา ร ยึ ด ห รื ออา ยั ด แ ล ะ
ก า ห น ด ร ะ ย ะ เ ว ล า ก า ร เ ก็ บ รั ก ษ า ท รั พ ย์ สิ น ก่ อ น ที่ จ ะ ต ก เ ป็ น ข อ ง ก อ ง ทุ น ก ร ณี ที่ ไ ม่ มี ผู้ ม า ข อ รั บ คื น
(แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๔๘ วรรคสี่ )
(๒๐ ) แก้ไขเพิ่ม เติม ให้ พนักงานอัยการ สามารถยื่นค าร้องต่อศาลเพื่อขอขยายระยะเวลาการยึด
หรืออายัดออกไปอีกได้ไม่เกินเก้าสิบวัน ใน กรณีที่มีเหตุท าให้ไม่สามารถยื่น ค าร้องขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของ
แผ่นดิน ได้ก่อนครบก าหนดระยะเวลาเก้าสิบวันตามมาตรา ๔๘ วรรคหนึ่ง (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๔๙ วรรค สอง)

(๒ ๑) แ ก้ ไ ข เ พิ่ ม เ ติ ม ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ ก า ศ ค า สั่ ง ข อ ง ศ า ล แ ล ะ วิ ธี ก า ร แ จ้ ง ค า สั่ ง
ให้บุคคลที่เกี่ยวข้องทราบ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๔๙ วรรคห้า)
(๒ ๒) เพิ่มเติมหลักเกณฑ์ให้เจ้าของที่แท้จริงในทรัพย์สินที่มิได้รู้เห็นเป็นใจ หรือยินยอม
ให้ทรัพย์สินนั้นถูกใช้หรือครอบครองไว้เพื่อใช้หรือสนับสนุนในการกระท าความผิดมูลฐานหรือความผิดฐาน
ฟอกเงิน สามารถยื่นค าคัดค้านค าร้องของพนักงานอัยการที่ร้องขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน (เพิ่ม (๑/๑)
ของมาตรา ๕๐)
(๒๓) แก้ไขเพิ่มเติมการน าทรัพย์สินที่ศาลมีค าสั่งใ ห้ตกเป็นของแผ่นดินส่งเข้ากองทุน
(แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๕๑ วรรคสอง)
(๒๔) ก าหนด ให้ทรัพย์สินที่ศาลมีค าสั่งให้ตกเป็นของแผ่นดินปลอดจากบรรดาทรัพยสิทธิ
หรือภาระผูกพัน และก าหนดให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องด าเนินการแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงทะเบียนเพื่อด าเนินการ
ให้เป็นไปตา มค าสั่งของศาล รวมทั้งก าหนดอ านาจศาลในการเรียกผู้เกี่ยวข้องเข้ามาในคดีในชั้นพิจารณา
(เพิ่ม วรรคสี่และวรรคห้าของ มาตรา ๕๑ )
(๒๕ ) แก้ไข เพิ่มเติม หลักเกณฑ์ การ สั่งคืน ทรัพย์สินกรณีศาลเห็นว่าทรัพย์สินตามค าร้อง
ไม่เป็นทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระท าความผิด (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๕๑/๑ วรรคหนึ่ง )
(๒ ๖) ก าหนด ผลทางกฎหมายกรณีมีการกระ ท าที่หลีกเลี่ยงมิให้ทรัพย์สินตกอยู่ภายใต้บังคับ
ตาม พระราชบัญญัตินี้ซึ่งได้กระท าลงภายหลังมีค าสั่งยึดหรืออายัดทรัพย์สิน (เพิ่มมาตรา ๕๕/๑)
(๒๗) แก้ไขเพิ่มเติมหน้าที่และอ านาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการด าเนินการตามค าสั่งยึด
หรืออายัดทรัพย์สิน ของคณะกรรมการธุรกรรมหรือเลขาธิการ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๕๖)
(๒๘) แก้ไขเพิ่มเติมหน้าที่และอ านาจของส านักงานในการเก็บรักษาและการจัดการทรัพย์สิน
ที่ยึดหรืออายัดให้สอ ดคล้องกับประเภทและสภาพของทรัพย์สินที่เปลี่ยนแปลงไปในปัจจุบัน (แก้ไขเพิ่มเติม
มาตรา ๕๗ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่)
(๒๙ ) ก าหนดหน้าที่และอ านาจ ของพนักงานเจ้าหน้าที่ใน การ เก็บรักษาและการ จัดการ
ทรัพย์สิน ให้มีความชัดเจน และ สามารถร้องขอความช่วยเหลือจากพนักงานฝ่ายปก ครองหรือต ารวจ และก าหนด
อ านาจให้ พนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจ สามารถจับกุมหรือควบคุมตัวผู้ที่ขัดขวางการ ปฏิบั ติห น้าที่
ตาม พระราชบัญญัตินี้ (เพิ่มมาตรา ๕๗/๑ และ มาตรา ๕๗/๒)
(๓๐ ) แ ก้ ไ ข เพิ่มเติม หลักเกณฑ์การส่งทรั พย์สินเข้ากองทุนกรณีไม่มีผู้มาขอรับทรั พย์ สิ นคื น
(แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา ๕๙/๒ (๒) )
(๓๑) ก าหนดความผิดกรณีใช้ข้อมูล เอกสาร หรือหลักฐานของบุคคลอื่น หรือยอมให้บุคคลอื่น
ใช้ข้อมูล เอกสาร หรือหลักฐานของตน หรือเป็นตัวกลางในการจัดหาข้อมูล เอกสาร หรือหลักฐานของบุคคล
อื่น เพื่อประโยชน์ในการปกปิดตัวตนในการท าธุรกรรม ( เพิ่ มมาตรา ๖๑/๓ )
(๓๒) แก้ไขเพิ่มเติมโทษ ทางอาญา และอัตราโทษให้เหมาะสมยิ่งขึ้น (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๖๒
มาตรา ๖๓ และมาตรา ๖๔ วรรคหนึ่ง)
(๓๓) ก าหนดบทเฉพาะกาล

เหตุผล

โ ด ย ที่ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ป้ อ ง กั น แ ล ะ ป ร า บ ป ร า ม ก า ร ฟ อ ก เ งิ น พ . ศ . ๒๕๔๒ มี บ ท บั ญ ญั ติ
บางประการที่ไม่เหมาะส มกับส ถาน การณ์ในปัจจุบัน และรู ปแบบ การ ฟอกเงิ นมีควา มซับ ซ้อน มา กขึ้น
สมควรแก้ไขปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพและเท่าทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับผลการประเมิน
การปฏิบัติตามมาตรฐานสากลด้านการต่อต้านการฟอกเงินและการสนับสนุนทางการเงินแก่กา รก่อการร้ายและ
การแพร่ ขยาย อาวุธที่มี อานุภาพ ท าลายล้างสูง ( INTERNATIONAL STANDARDS ON COMBATING MONEY
LAUNDERING AND THE FINANCING OF TERRORISM & PROLIFERATION ) ตามข้อแนะน าของคณะท างาน
เฉพาะกิจเพื่อด าเนินมาตรการทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับการฟอกเงิน ( The FATF Recommendations )
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ที่ผ่านมาพบว่าประเทศไทยยังมีข้อบกพร่องด้านกรอบของกฎหมายในบางประการที่สมควร
ปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลดังกล่าว จึงจ าเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้

-ร่าง –
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. ….
…………………………………….
…………………………………….
…………………………………….
……………………………………………………………………………. ………………………………… …………….
…………………………………….
โดยที่เป็นการสมควรแก้ไ ขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจ า กัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งมาตรา ๒๖ ประกอบกับมาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๖ และ
มาตรา ๓๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระท าได้โดยอาศัยอ านาจตามบทบัญญัติ
แห่งกฎหมาย
เ ห ตุ ผ ล แ ล ะคว า มจ า เ ป็ น ใน กา ร จ า กัด สิ ทธิ แ ล ะเ ส รี ภ า พของ บุ คคล ต า มพร ะร า ช บั ญ ญั ติ นี้
เพื่อให้ มาตร การ ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับ สถาน การณ์ปัจจุบันและ
สอดคล้องกับ รูปแบบการฟอกเงินมีความซับซ้อนมากขึ้น จึง จ าเป็นต้อง มีมาตรการทางกฎหมายที่ เท่าทัน ต่อ
การเปลี่ยนแปลง ดังกล่าว ในอันที่ จะ ลดความเสี่ยงจาก อาชญากรรมร้ายแรง ที่เป็นภัยคุกคาม อันกระทบต่อ
ความมั่นคงของรัฐและความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ การตราพระราชบัญญัตินี้สอดคล้องกับเงื่อนไขที่
บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว
…………………………………………………………………………………………………………….. ……….
……………… …………………….
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….”

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นก าหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความใน (๒) ของบทนิยามค าว่า “ความผิดมูลฐาน ” ในมาตรา ๓ แห่ง
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกัน
และปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๒) ความผิดเกี่ยวกับการค้ ามนุษย์ตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
หรือความผิดตามประมวล กฎหมายอาญาในความผิดเกี่ยวกับเพศ เฉพาะที่เกี่ยวกับการเป็นธุระจัดหา ล่อไป
พาไป หรือรับไว้เพื่อการอนาจารซึ่งชายหรือห ญิง เพื่อสนองความใคร่ของผู้อื่น หรือความผิดเกี่ยวกับ สื่อลามก
อนาจารเด็ก อันมีลักษณะเป็นการค้า หรือความผิดฐาน พรากเด็กและผู้เยาว์ เฉพาะที่เกี่ยวกับการกระท าเพื่อหา

ก าไรหรือเพื่ออนาจาร หรือโดยทุจริต ซื้อ จ าหน่าย หรือรับตัวเด็กหรือผู้เยาว์ซึ่งถูกพรากนั้น หรือความผิดตาม
กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี เฉพาะที่เกี่ยวกับการเป็นธุระจัดหา ล่อไป
หรือชักพาไปเพื่อให้บุคคลนั้นกระท าการค้าประเวณี หรือที่เกี่ยวกับการเป็นเจ้าของกิจการการค้าประเวณี
ผู้ดูแลหรือผู้จัดการกิจการค้าประเวณี หรือสถานการค้าประเวณี หรือเป็นผู้ควบคุมผู้กระท าการค้าประเวณี
ในสถานการค้าประเวณี ”

มา ต ร า ๔ ให้ ย กเ ลิ กคว า มใน (๔ ) ของ บ ทนิ ย า มค า ว่ า “คว า มผิ ด มูล ฐ า น ” ใน มา ต ร า ๓
แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๔) ความผิดเกี่ยวกับการยักยอกหรือฉ้อโกงหรือประทุษร้ายต่อทรัพย์หรือกระท าโดยทุจริตตาม
กฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงินซึ่งกระท าโดยกรรมการ หรือผู้จัดการ ห รือบุคคลใด ซึ่งรับผิดชอบหรือ
มีประโยชน์เกี่ยวข้องในการด าเนินงานของสถาบันการเงินนั้น ”

มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความใน (๗) ของบทนิยามค าว่า “ความผิดมูลฐาน ” ในมาตรา ๓ แห่ง
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๗) ความผิดเกี่ยวกับการหลีกเลี่ยงหรือลักลอบหนีศุลกากรหรือการหลีกเลี่ยงข้อจ ากัดหรือ
ข้อห้ามตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร ”

มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความใน (๑๔) ของบทนิยามค าว่า “ความผิดมูลฐาน ” ในมาตรา ๓ แห่ง
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกัน
และปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๖ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๑๔) ความผิดเกี่ยวกับการ ปลอมเอกสารสิทธิ เอกสารราชการ บัตรอิเล็กทรอนิกส์ หรือหนังสือ
เดินทาง ตามประมวลกฎหมายอาญาอันมีลักษณะเป็นปกติธุระหรือเพื่อการค้า ”

มาตรา ๗ ให้ยกเลิกความใน (๒๐) ของบทนิยามค าว่า “ความผิดมูลฐาน ” ในมาตรา ๓ แห่ง
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกัน
และปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๒๐) ความผิดเกี่ยวกับการกระท าอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ตามกฎหมาย
ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือความผิดเกี่ยวกับการกระท า อันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับสัญญาซื้อขาย
ล่วงหน้าตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า หรือความผิดเกี่ยวกับการป้องกันการกระท าอันไม่เป็นธรรม
เกี่ยวกับการซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ”
มาตรา ๘ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (๒๒) (๒๓) (๒๔) และ (๒๕) ของบทนิยามค าว่า “ความผิดมูลฐาน ”
ในมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒
“(๒๒) ความผิดเกี่ยวกับการยักยอกหรือฉ้อโกงหรือประทุษร้ายต่อทรัพย์หรือกระท าโดยทุจริต หรือ
ความผิดเกี่ยวกับการกระท าหรือยินยอมให้กระท าเพื่อลวงบุคคลใด ๆ โดยการท าให้เสียหาย ท าลาย

เปลี่ยนแปลง ตัดทอน หรือปลอมบัญชี เอกสาร หลักประกัน หรือหลักฐานต่าง ๆ ลงข้อความเท็จหรื อไม่ลง
ข้อความส าคัญในบัญชีหรือเอกสาร หรือท าบัญชีหรือเอกสาร ของนิติบุคคล หรือที่เกี่ยวกับนิติบุคคล หรือที่
เกี่ยวกับการจัดการกองทรัสต์ ไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ไม่เป็นปัจจุบัน ไม่ตรงต่อความเป็นจริง หรือรับรองเป็น
หลักฐานถึงความถูกต้องและครบถ้วนในหนังสืออันเป็นควา มเท็จ ซึ่งกระท าโดยกรรมการ ผู้จัดการ พนักงาน
ตัวแทน หรือบุคคลใด ซึ่งรับผิดชอบในการด าเนินงาน หรือได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานของนิติบุคคล หรือ
จัดการกองทรัสต์ ทั้งนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขาย
ล่วงหน้า หรือกฎหมายว่ าด้วยการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล หรือกฎหมายว่าด้วยทรัสต์เพื่อธุรกรรม
ในตลาดทุน แล้วแต่กรณี
(๒๓) ความผิดเกี่ยวกับการเรียกดอกเบี้ยเกินอัตราตามกฎหมายว่าด้วยการห้ามเรียกดอกเบี้ย
เกินอัตรา เฉพาะกรณีที่ผู้กระท า ความผิดมิได้ อยู่ภายใต้การ ควบคุมหรือก า กับดูแล ตาม กฎหมา ย ขอ ง
กระทรวงการคลังหรือธนาคารแห่งประเทศไทย
(๒๔) ความผิดเกี่ยวกับการร่วมกันหรือสมยอมในการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ ข่มขืนใจ
ผู้อื่นให้จ ายอม ใช้อุบายหลอกลวงหรือกระท าการโดยวิธีการอื่นใดเป็นเหตุให้ผู้อื่นไม่มีโอกาสเข้าท าการเสนอ
ราคาอย่างเป็นธรรมหรือให้มีการ เสนอราคาโดยหลงผิด หรือกระท าการใด ๆ เพื่อกีดกันการแข่งขันราคา
อย่างเป็นธรรม ตามกฎหมายว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ
(๒๕) ความผิดตามกฎหมายอื่นที่ก าหนดให้เป็นความผิดมูลฐานตามพระราชบัญญัติ ”

มาตรา ๙ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของบทนิยามค าว่า “ความผิดมูลฐาน ” ในมาตรา ๓ แห่ง
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกัน
และปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๖ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“ความผิดมูลฐานตามวรรคหนึ่ งและความผิดตามกฎหมายอื่นที่ก าหนดให้เป็นความผิดมูลฐาน
ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้หมายความรวมถึงการกระท าความผิดอาญานอกราชอาณาจักร ซึ่งหากการกระท า
ความผิดนั้นได้กระท าลงในราชอาณาจักรจะเป็นความผิดมูลฐานด้วย ”

มาตรา ๑๐ ให้ยกเลิกบทนิยามค าว่า “สถาบันการเงิน ” ในมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติป้องกัน
และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
““ สถาบันการเงิน ” หมายความว่า
(๑) ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน และบริษัทเครดิตฟองซิเอร์ ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบัน
การเงิน และสถาบันการเงินของรัฐที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น
(๒) บริษัทหลักทรัพย์ หรือผู้ที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ ตามกฎหมายว่าด้วย
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
(๓ ) บริษัทประกันชีวิตตามกฎหมายว่าด้วยการประกันชีวิต และบริษัทประกันวินาศภัยตาม
กฎหมายว่าด้วยการประกันวินาศภัย

(๔) สหกรณ์ตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อด าเนินกิจการเกี่ยวกับการรับฝากเงิน
ให้กู้ ให้สินเชื่อ รับจ านองหรือรับจ าน าทรัพย์สิน หรือให้บริการทางการเงินประเภทอื่นที่มีลักษณะเดียวกับ
สถาบันกา รเงินตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน
(๕) ผู้ประกอบธุรกิจสินเชื่อส่วนบุคคลซึ่งเป็นกิจการที่ต้องขออนุญาตตามกฎหมาย
(๖) ผู้ประกอบธุรกิจบัตรเครดิตที่มิใช่สถาบันการเงินตามประกาศกระทรวงการคลังเกี่ยวกับ
การประกอบธุรกิจบัตรเครดิต
(๗) ผู้ประกอบธุรกิจปัจจัยช าระเงินต่างประเทศตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน
ทั้งนี้ เฉพาะที่คณะกรรมการก าหนด
(๘) ผู้ประกอบธุรกิจอื่นที่เกี่ยวข้องกับการเงินหรือเทคโนโลยีทางการเงินตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง ”

มา ตรา ๑๑ ให้เพิ่มบทนิยามค าว่า “ผู้ประกอบอาชีพ ” “ ผู้มีหน้าที่รายงาน ” “ ความสัมพันธ์ทางธุรกิจ ”
“ธุรกรรมเป็นครั้งคราว ” “ลูกค้า ” “บริษัทในเครือ ” และ “กลุ่มธุรกิจ ทางการเงิน ” ระหว่างบทนิยามค าว่า
“สถาบันการเงิน ” กับบทนิยามค าว่า “กองทุน ” ในมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
พ.ศ. ๒๕๔๒
““ ผู้ประกอบอาชีพ ” หมายความว่า บุคคลซึ่งประกอบอาชีพ ดังต่อไปนี้
(๑) ให้ค าปรึกษา ให้ความเห็น หรือด าเนินการหรือช่วยด าเนินการในเรื่องที่เกี่ยวกับการออกและ
การเสนอขายหลักทรัพย์ การเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบง ากิจการ การจัดโครงสร้างทางการเงิน หรือในเรื่อง
อื่นใดที่ มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ไม่ใช่สถาบันการเงิน
(๒) ค้าอัญมณี เพชรพลอย ทองค า หรือเครื่องประดับที่ประดับด้วยอัญมณี เพชรพลอย หรือทองค า
(๓) นายหน้าหรือตัวแทนซื้ อขายอสังหาริมทรัพย์
(๔) ค้า รถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ ให้เช่าซื้อหรือธุรกิจลีสซิ่งรถยนต์หรือรถจักรยานยนต์
ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ที่คณะกรรมการก าหนด
(๕) ขายทอดตลาดและค้าของเก่าตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการขายทอดตลาดและค้าของเก่า
หรือค้าโบราณวัตถุ หรือศิลปวัตถุ ตามกฎหมายว่าด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
(๖) ทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมาย ที่ให้ บริการ ด้านกฎหมาย เกี่ยวกับ การ ซื้อขายอสังหาริมทรัพย์
การ จัดการ บัญชีหรือ ธุรกรรมทางการเงิน หลักทรัพย์ หรือ การจัดการ ทรัพย์สินของลูกค้า ให้ค าปรึกษาหรือด าเนินการ
เกี่ยวกับ การวางแผนการลงทุน การวางแผนร่วมลงทุน การจัดตั้งบริษัทหรือองค์กรธุรกิจ การควบรวมกิจการและ
บริษัท การซื้อขายกิจการ การปรับปรุงโครงสร้างบริษัท หรือองค์กรธุรกิจ การขอรับ การส่งเสริมการลงทุน ตลอดจน
การให้บริการด้านสัญญาและจัดท าเอกสารทางกฎหมาย แต่ไม่รวมถึงการให้บริการด้านคดีความ
(๗) ผู้ท าบัญชีตามกฎหมายว่าด้วยการบัญชีหรือผู้ สอบบัญชี รับอนุญาตตามกฎหมาย ว่าด้วยวิชาชีพ บัญชี
(๘) อาชีพอื่นที่มีความเสี่ยงเกี่ยวกับการฟอกเงินหรือการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย
และการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพท าลายล้างสูงตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง
ผู้ประกอบอาชีพตาม (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) และ (๗) ต้องเป็นนิติบุคคล เว้นแต่ ปรากฏข้อเท็จจริง
ในภายหลังว่า ผู้ประกอบอาชีพที่ มิได้เป็นนิติบุคคลมีความเสี่ยง ในการ ถูกใช้เป็นช่องทางในการฟอกเงินหรือ

การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพท าลายล้างสูง เลขาธิ การ อาจ
ก าหนดให้ผู้ประกอบอาชีพ ที่มิได้เป็นนิติบุคคล ดังกล่าวเป็นผู้มีหน้าที่รายงาน เพิ่มเติม ก็ได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์
และเงื่อนไขที่ คณะกรรมการ ก าหนด
ผู้ประกอบอาชีพตาม (๖) แล ะ (๗) ไม่รวมถึง ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ องค์การ
ของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ซึ่งปฏิบัติงาน ตามหน้าที่หรืออ านาจ ตามกฎหมาย หรือ ผู้ปฏิบัติงาน ที่ได้รับมอบหมายหรือ
แต่งตั้ง จาก หน่วยงานของรัฐ องค์การของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ หรือผู้ ปฏิบัติงาน
ในฐานะ ลูกจ้างหรือพนักงานของ สถาบันการเงินหรือผู้ประกอบอาชีพ
“ผู้มีหน้าที่รายงาน ” หมายความว่า สถาบันการเงินและผู้ประกอบอาชีพ
“ความสัมพันธ์ทางธุรกิจ ” หมายความว่า การท าธุรกรรมระหว่างลูกค้าฝ่ายหนึ่งกับผู้มีหน้าที่
รายงานอีกฝ่ายหนึ่ง โดยมีวัตถุประสง ค์เพื่อใช้บริการทางการเงิน ทางธุรกิจ ทางการค้าหรือทางวิชาชีพของ
ผู้มีหน้าที่รายงานอย่างต่อเนื่องหรือในช่วงระยะเวลาที่ตกลงกัน
“ธุรกรรมเป็นครั้งคราว ” หมายความว่า การท าธุรกรรมระหว่างลูกค้าฝ่ายหนึ่งกับผู้มีหน้าที่
รายงานอีกฝ่ายหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้บ ริการทางการเงินทางธุรกิจ ทางการค้า หรือทางวิชาชีพของ
ผู้มีหน้าที่รายงานเป็นรายครั้งโดยไม่ได้มุ่งหมายที่จะสร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจ
“ลูกค้า ” หมายความว่า บุคคลธรรมดา นิติบุคคล หรือบุคคลที่มีการตกลงกันทางกฎหมาย
ซึ่งสร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจหรือท าธุรกรรมเป็นครั้งคราวกับผู้มีหน้าที่รายงาน
“บริษัทในเครือ ” หมายความว่า บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่จดทะเบียนในประเทศหรือ
ต่างประเทศ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับ สถาบันการเงินหรือผู้ประกอบอาชีพ ในลักษณะ ดังต่อไปนี้
(๑) สถาบันการเงินหรือผู้ประกอบอาชีพ ถือ หุ้น หรือเป็นหุ้นส่วน ในบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล นั้น
ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม มีมูลค่า เกินกว่าร้อยละ ยี่สิบ ห้าของ ทุนทั้งหมดหรือของ หุ้นที่จ าหน่าย ได้แล้วทั้งหมด
(๒) สถาบันการเงินหรือผู้ประกอบอาชีพ มีอ านาจควบคุมคะแนนเสียงส่วนใหญ่ในที่ประชุมผู้ถือหุ้น
ของบริษัท นั้น
(๓) สถาบันการเงินหรือผู้ประกอบอาชีพ มีอ านาจควบคุม ใน การแต่งตั้งหรือถอดถอนผู้มีอ านาจ
ในการจัดการหรือกรรมการตั้งแต่กึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งหมดในบริษัท นั้น
(๔) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่จดทะเบียนในประเทศหรือต่างประเทศซึ่งมี ความสัมพันธ์
ในลักษณะอื่นๆ กับสถาบันการเงินหรือผู้ประกอบอาชีพ ตามที่ คณะกรรมการก าหนด
“กลุ่มธุรกิจทางการเงิน ” หมายความว่า กลุ่มของสถาบันการเงินหรือผู้ประกอบอาชีพและสาขาหรือ
บริษัทในเครือซึ่งประกอบธุรกิจทางการเงินหรือประกอบธุรกิจลักษณะเดียวกับผู้ประกอบอาชีพ รวมถึง ธุรกิจ
ที่ให้บริการสนับสนุนการประกอบธุรกิจ ทางการเงิน หรือผู้ประกอบอาชีพในการด าเนินธุรกิจหรือทางค้าปกติ
ทั้งนี้ ขอบเขตการเป็นกลุ่ม ธุรกิจทางการเงิน ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ ก าหนด ”

มาตรา ๑๒ ให้ยกเลิกชื่อของหมวด ๒ ของพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“หมวด ๒
การป้องกันการฟอกเงิน การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพ
ท าลายล้างสูง ”

มาตรา ๑๓ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๕/๑ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๑๕/๑ เมื่อพนักงานศุลกากรผู้ใดได้รับแจ้งรายการเกี่ยวกับการส่งหรือน าเงินตรา เงินตรา
ต่างประเทศ หรือตราสารเปลี่ยนมือเข้ามาในหรือออกไ ปนอกประเทศ อันมีมูลค่ารวมกันถึงจ านวนที่ต้องแจ้ง
รายการต่อส านักงานตามที่กฎหมายว่าด้วยการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินก าหนด ให้พนักงานศุลกากรดังกล่าว
รวบรวมและจัดส่งข้อมูลที่ได้รับแจ้งนั้นไปยังส านักงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่เลขาธิการและอธิบดี
กรมศุลกากรร่ว มกันก าหนด ”

มาตรา ๑๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๑๕/๒ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒
“มาตรา ๑๕/๒ เมื่อพนักงานศุลกากรมีเหตุอันควรสงสัยและมีพยานหลักฐานอันสมควรว่า
เงินตรา เงินตราต่างประเทศ หรือตราสารเปลี่ยนมือที่น าเข้ามาในหรือออกไปนอกประเทศ เป็นทรัพย์สิน
ที่เกี่ยวกับการกระท าความผิด หรือเพื่อ การฟอกเงิน หรือ การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายหรือ
การสนับสนุนทางการเงินแก่การแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพท าลายล้างสูงตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและ
ปราบ ปรามการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพท าลายล้างสูง
ให้พนักงานศุลกากรมีอ านาจยึดเงินตรา เงินตราต่างประเทศ หรือตราสารเปลี่ยนมือนั้นไว้ชั่วคราวมีก าหนด
ไม่เกินสามสิบวันนับแต่วันที่ยึดและให้ส่งเรื่องพร้อมทรัพย์สินที่ยึดไว้ให้ส า นักงานด าเนินการตามพระราชบัญญัตินี้
ก่อนครบก าหนดระยะเวลาดังกล่าว เว้นแต่ทรัพย์สินที่ยึดนั้นเป็นของอันพึงต้องริบตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร
ก็ให้ด าเนินการ ตา มกฎหมายนั้ น และ ในกรณีเช่นว่านี้ ถ้า ด า เนินการ ตามกฎหมาย ว่าด้วยศุลกากร แล้ ว
แต่ไม่เป็นผลไม่ว่าทั้งหมดหรือแต่บางส่วน ก็ให้ส่งเรื่องไปยังส านักงานเพื่อด าเนินการต่อไปตามพระราชบัญญัตินี้
ในกรณีที่ ส านักงานได้รับเรื่องและทรัพย์สินที่ยึดตามวรรคหนึ่ง ให้ท าการตรวจสอบเบื้องต้น
ถ้าปรากฏว่ามีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าอาจมีการโอน จ าหน่าย ยักย้าย ปกปิด หรือซ่อนเร้นทรัพย์สินใดที่เป็น
ทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระท าความผิด ให้ส านักงานเสนอเรื่องให้คณะกรรมการธุรกรรมเพื่อพิจารณาสั่งการ
ตามมาตรา ๔๘ โดยเร็ว ทั้งนี้ ภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับเรื่องและทรัพย์สินที่ยึดจากพนักงานศุลกากร
เมื่อมีค าสั่งยึดตามม าตรา ๔๘ แล้ว ให้ผู้ซึ่งอ้างว่าเป็นเจ้าของเงินตรา เงินตราต่างประเทศ หรือ
ตราสารเปลี่ยนมือที่ถูกยึดมีสิทธิยื่นค าร้องต่อเลขาธิการ พร้อมด้วยพยานหลักฐานที่แสดงว่าเงินตรา เงินตรา

ต่างประเทศ หรือตราสารเปลี่ยนมือดังกล่าวมิใช่ทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระท าความผิด การฟ อกเงิน
การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายหรือการสนับสนุนทางการเงินแก่การแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพ
ท าลายล้างสูงตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและ
การแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพท าลายล้างสูง
เมื่อเจ้าหน้าที่ของส านักงานได้ตรวจสอบค าขอและหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนแล้ว ให้เสนอค าขอ
พร้อมทั้งหลักฐานและความเห็นต่อเลขาธิการเพื่อพิจารณาเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการธุรกรรมพิจารณา
มีค าสั่งเพิกถอนการยึดทรัพย์สินนั้น
ในกรณีที่ปรากฏหลักฐานเป็นที่เชื่อได้ว่าทรัพ ย์สินใดเป็นทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระท าความผิด
ให้คณะกรรมการธุรกรรมส่งเรื่องให้เลขาธิการด าเนินการต่อไปตามมาตรา ๔๙ โดยเร็ว
ในการด าเนินการตามวรรคหนึ่ง เลขาธิการและอธิบดีกรมศุลกากรอาจร่วมกันวางระเบียบในการ
ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องก็ได้ ”

มา ต ร า ๑๕ ให้ ย กเ ลิ กคว า มใน มา ต ร า ๑๖ แ ห่ ง พร ะร า ช บั ญ ญั ติ ป้ อง กัน แ ล ะป ร า บ ป ร า ม
การฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๕๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๑๖ ให้ผู้ประกอบอาชีพมีหน้าที่ต้องรายงานการท าธุรกรรมเงินสด ธุรกรรมที่เกี่ยวกับ
ทรัพย์สินตามจ านวนหรือมูลค่าที่ก าหนดในกฎกระทรวง หรือธุรกรรมที่มีเหตุอันควรสงสัยต่อส านักงาน เว้นแต่
ผู้ประกอบอาชีพตาม (๑) (๖) และ (๗ ) ให้รายงานเฉพาะกรณีเมื่อเป็นธุรกรรมที่มีเ หตุอันควรสงสัย
ในกรณีที่ปรากฏว่ามีข้อเท็จจริงใดที่เกี่ยวข้องหรืออาจจะเป็นประโยชน์ในการยืนยันหรือยกเลิก
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับธุรกรรมที่ได้รายงานไปตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้ผู้ประกอบอาชีพรายงานข้อเท็จจริงนั้นให้
ส านักงานทราบโดยไม่ชักช้า
ให้น าความในมาตรา ๑๔ มาใช้บั งคับกับผู้ประกอบอาชีพด้วยโดยอนุโลม ”

มาตรา ๑๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๖/๑ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอก
เงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๑๖/๑ ให้ สมาคม มูลนิธิ หรือองค์กรไม่แสวงหาก าไร ที่มีวัตถุประสงค์ใน การกุศล
สาธารณะ การศาสนา ศิลปะ วิทยาศาสตร์ วรรณคดี การศึกษา หรือเพื่อสาธารณประโยชน์อย่างอื่น โดย มิได้
แสวง หาผลก าไรหรือรายได้หรือมุ่งหาประโยชน์มาแบ่งปันกัน มีหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑) จัดท างบการเงินประจ าปี ซึ่งต้องมีรายการที่แสดงรายได้และ ราย จ่ายต่างๆ ที่ชัดเจนและ
ในกรณีของรายได้ที่เป็นเงินหรือทรัพย์สินที่รับบริจาคให้ระบุแหล่งที่มาของรายได้ดังกล่าว
(๒) บันทึกข้อเท็จจริงต่างๆ เกี่ยวกับธุรกรรมรายได้และ รายจ่าย ตาม (๑) ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์
วิธีการ และแบบที่ คณะกร รมการก าหนด

(๓) จัดให้มีข้อมูลเกี่ยวกับผู้มีอ านาจควบคุมหรือบริหารจัดการสมาคม มูลนิธิหรือองค์กรไม่แสวงหาก าไร
และข้อมูลเกี่ยวกับผู้ได้รับผลประโยชน์ที่แท้จริงจากการท ากิจกรรมหรือด าเนินโครงการต่างๆ ของสมาคม มูลนิธิหรือ
องค์กรไม่แสวงหาก าไร
ให้ สมาคม มูลนิธิ หรือองค์กรไม่แสวงหาก าไรตามวรรคหนึ่ง เก็บรักษาข้อมูล เอกสารหรือ
หลักฐานใดตาม (๑) (๒) และ (๓) ไว้เป็นเวลาห้าปีนับแต่วันที่ได้บันทึกข้อเท็จจริงในการท าธุรกรรมนั้น
หรือนับแต่การด าเนินโครงการหรือการด าเนินกิจการนั้นสิ้นสุดลงแล้วแต่กรณี เว้นแต่ได้รับแจ้งจากพนักงาน
เจ้าหน้าที่ให้ปฏิบัติเป็นอย่างอื่น
ให้หน่วยงานหรือนายทะเบียนที่มีหน้าที่และอ านาจตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสมาคม มูลนิธิ
หรือองค์กรไม่แสวงหาก าไร ท าหน้าที่ก ากับและควบคุมให้สมาคม มูลนิธิ หรือองค์กรไม่แสวงหาก าไรดังกล่าว
ด าเนินการให้เป็นไปตามวรรคหนึ่ง และในกรณีที่ ตรวจสอบพบว่ามิได้ด าเนินการหรือด าเนินการไม่ถูกต้อง
ให้นายทะเบียนหรือหน่วยงานที่มีหน้า ที่สั่งให้ สมาคม มูลนิธิ หรือองค์กรไม่แสวงหาก าไรที่ฝ่าฝืนนั้นด าเนินการ
หรือแก้ไขให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่ก าหนด หากไม่ด าเนินการหรือไม่แก้ไขให้ถูกต้องภายในระยะเวลา
ที่ก าหน ด ให้นาย ทะเบียนหรือหน่วยงานที่มีหน้าที่ แจ้งให้ส านักงานทราบโดยเร็วเพื่อด าเนิน กา ร ต า ม
พระราชบัญญัตินี้
ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยโดยมีพยานหลักฐานตามสมควรว่าสมาคม มูลนิธิ หรือองค์กร
ไม่แสวงหาก าไรใดมีการท าธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับการฟอกเงิน การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายหรือ
การแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพท าลายล้างสูงตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการสนับสนุน
ทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพท าลายล้างสูง ให้ส านักงานโดยความ
เห็นชอบของคณะกรรมการธุรกรรม มีอ านาจ
(๑) มีค าสั่งเป็นหนังสือให้สมาคม มูลนิธิ หรือองค์กรไม่แสวงหาก าไรนั้น ชี้แจงแสดงข้อเท็จจริง
เกี่ยวกับกิจการของสมาคม มูลนิธิ หรือองค์กรไม่แสวงหาก าไร หรือเรียกบุคคลใดๆ มาสอบถาม หรือให้ส่งหรือ
แสดงสมุดบัญชี เอกสาร หรือหลักฐานต่าง ๆ ของสมาคม มูลนิธิ หรือองค์กรไม่แสวงห าก า ไรดัง กล่ า ว
เพื่อตรวจสอบ
(๒) สั่งระงับการท าธุรกรรมที่มีเหตุอันควรสงสัยนั้นไว้เป็นการชั่วคราวเป็นเวลาตามที่ส านักงาน
ก าหนดแต่ไม่เกินสามสิบวัน
(๓) เข้ าไปในส านั กงานของสมาคม มู ลนิ ธิ หรื อองค์ กรไม่ แสวงหาก าไร ในเวลาระหว่ าง
พระอาทิตย์ขึ้น และพระอาทิตย์ตกเพื่อตรวจสอบตามที่จ าเป็นในกรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าหากเนิ่นช้ากว่า จะเอา
หมายค้นมาได้ ทรัพย์สินหรือพยานหลักฐานใดจะถูกยักย้าย ซุกซ่อน ท าลาย หรือท าให้เปลี่ยนสภาพไปจากเดิม
ในการปฏิบัติการตามวรรคสี่ (๓) ให้เลขาธิการหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ ได้รับมอบ หมาย
เป็นหนังสือจากเลขาธิการแสดงบัตรประจ าตัวและหนังสือมอบหมายต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง
ความในมาตรานี้ไม่ใช้บังคับกับสมาคม มูลนิธิหรือองค์กรไม่แสวงหาก าไรในพระราช ด าริ
พระมหากษัตริย์ พระบรมราชินี พระรัชทายาท หรือในพระด าริของพระบรมวงศ์ ตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้ าขึ้นไป
จนถึงชั้นเจ้าฟ้า ”

มาตรา ๑๗ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๑๗ การรายงานตามมาตรา ๑๓ มาตรา ๑๔ มาตรา ๑๕ และมาตรา ๑๖ ให้เป็นไปตาม
แบบ ระยะเวลา หลักเกณฑ์ และวิธีการที่ คณะกรรมการก าหนด ”

มาตรา ๑๘ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๑๙ การรายงานหรือการด าเนินการใด ๆ ตามหมวดนี้ซึ่งกระท าโดยสุจริต หากก่อให้เกิด
ความเสียหายแก่บุคคลใด ผู้มีหน้าที่รายงาน กรรมการ ผู้จัดการหรือบุคคลซึ่งรับผิดชอบในการด าเนินงานของ
ผู้มีหน้าที่รายงาน รวมทั้งพนักงานหรือลูกจ้างของผู้มีหน้าที่รายงานดังกล่าวไม่ต้องรับผิด ”

มาตรา ๑๙ ให้ยกเลิกมาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๒

มาตรา ๒๐ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๐/๑ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉ บับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๒๐/๑ ผู้มีหน้าที่รายงานต้องด าเนินการตรวจสอบเพื่อทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับลูกค้า
โดยจัดให้ลูกค้าแสดงตน ระบุตัวตนและพิสูจน์ทราบตัวตนของลูกค้า บริหารความเสี่ยงด้านการฟอกเงิน
การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย หรือการสนับสนุนทางการเงินแก่การแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพ
ท าลายล้างสูงของลูกค้า และติดตามความเคลื่อนไหวของการท าธุรกรรมของลูกค้า ตลอดจนการก าหนด
นโยบายและมาตรการควบคุมภายใน ขององค์กร สาขา และ บริษัทในเครือ ที่อยู่ ใน กลุ่มธุรกิจท างการเงิน
ให้เหมาะสมกับความเสี่ยงด้านการฟอกเงิน การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย หรือการการสนับสนุน
ทางการเงินแก่การแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพท าลายล้างสูงและขนาดของธุรกิจ
การตรวจสอบเพื่อทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับลูกค้า นโยบายและ มาตรการการควบคุมภายใน ของ
องค์กร สาขา และ บริษัทในเครือ ที่อยู่ ใน กลุ่มธุรกิจทางการเงิน ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ
วิธีการที่ก าหนด ในกฎกระทรวง ”

มาตรา ๒๑ ให้ยกเลิกความใน มาต รา ๒๑ แห่งพระราชบัญญั ติป้ อง กันแล ะปรา บ ป ร า ม
การฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๒๑ เมื่อมีการท าธุรกรรมตามมาตรา ๑๓ หรือมาตรา ๑๖ ให้ผู้มีหน้าที่รายงานบันทึก
ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง ต่ า ง ๆ เ กี่ ย ว กั บ ธุ ร ก ร ร ม ดั ง ก ล่ า ว ต า ม แ บ บ ร า ย ก า ร ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ที่ก า ห น ด
ในกฎกระทรวง ”

๑๐

มาตรา ๒๒ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๑/๑ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๒๑/๑ ห้ามมิให้ผู้มีหน้าที่รายงานหรือบุคคลใด กระท าการใดๆ อันอาจท าให้ลูกค้าหรือ
บุ ค ค ล ภ า ย น อ ก ท ร า บ ว่ า จ ะ มี ก า ร ร า ย ง า น ห รื อ ไ ด้ มี ก า ร ร า ย ง า น ธุ ร ก ร ร ม ที่ มี เ ห ตุ อั น ค ว ร ส ง สั ย ห รื อ
ส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมดังกล่าวไปยังส านักงาน เว้นแต่เป็นการปฏิบัติตามกฎหมายหรือตามค าสั่งศาล
หรือเป็นการเปิดเผยข้อมูล ภายใน ของผู้มีหน้าที่รายงาน หรือระหว่างบริษัทในเครือ ที่อยู่ ในกลุ่มธุรกิจ ทางการเงิน
ที่ตั้งอยู่ในหรือต่างประเทศเพื่อด าเนินการอันเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
รายงานหรื อข้ อมู ลตามวรรคหนึ่ งถื อเป็ นความลั บ ในราชการเกี่ ยวกั บการด าเนิ นการ ตา ม
พระราชบัญญัตินี้ และให้เลขาธิการเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บรักษาและใช้ประโยชน์จาก รายงานหรือ ข้อมูล นั้น ”

มาตรา ๒๓ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๑/๒ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๒๑/๒ ในกรณีที่ผู้มีหน้าที่รายงานพบว่าธุรกรรมใดของลูกค้าเกี่ยวข้องกับการกระท า
ความผิดมูลฐานหรือความผิดฐานฟอกเงิน ผู้มี หน้าที่รายงานอาจระงับการท าธุรกรรมนั้นไว้ก่อนได้ไม่เกิน
สามวันท าการและรายงานให้ส านักงานทราบโดยทันที
เมื่อส านักงานตรวจสอบรายงานแล้วมีหลักฐานอันควรเชื่อได้ว่าธุรกรรมที่ระงับไว้ตามวรรคหนึ่ง
เกี่ยวข้องกับการกระท าความผิดมูลฐานหรือความผิดฐานฟอกเงิน ให้มีอ านาจสั่งให้ผู้มีหน้าที่รายงานดังกล่าว
ระงับการท าธุรกรรมไว้ต่อไปอีกได้ไม่เกินสิบวันท าการนับแต่วันที่มีค าสั่งโด ยต้องมีค าสั่งดังกล่าวภายในก าหนด
ระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง ทั้งนี้ ในกรณีที่ส านักงานมิได้มีค าสั่งใดๆ จนล่วงเลยระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง
ให้ผู้มีหน้าที่รายงานยกเลิกการระงับการท าธุรกรรมนั้นได้ทันที
การระงับการท าธุรกรรมตามวรรคหนึ่งหากได้กระท าโดยสุจริต แม้ก่อให้เกิดความ เสียหาย
แก่บุคคลใด ผู้มีหน้าที่รายงานไม่ต้องรับผิด ”

มาตรา ๒๔ ให้ยกเลิกมาตรา ๒๑/๓ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘

มาตรา ๒๕ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๒ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
พ. ศ. ๒๕๔๒ ซึ่ ง แ ก้ไขเ พิ่ มเ ติ มโ ด ย พ ร ะร า ช บั ญ ญั ติ ป้ อ ง กัน แ ล ะป ร า บ ป ร า มก า ร ฟ อ ก เ งิ น (ฉ บั บ ที่ ๒ )
พ.ศ. ๒๕๕๑ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๒๒ เว้นแต่จะได้รับแจ้งเป็นหนังสือจากพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้ปฏิบัติเป็นอย่างอื่น
ให้ผู้มีหน้าที่รายงานเก็บรักษารายละเอียดของข้อมูลหรือหลักฐานดังต่อไปนี้

๑๑

(๑ ) ข้อมูล ห รื อห ลั กฐ า น เ กี่ย ว กับ กา ร ต ร ว จ ส อบ เ พื่ อทร า บ ข้อเ ท็จ จ ริ ง เ กี่ย ว กับ ลู กค้า ต า ม
มาตรา ๒๐/๑ เป็นเวลาสิบปีนับแต่วันที่ยุติความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับลูกค้า เว้นแต่ กรณีของการท าธุรกรรม
เป็นครั้งคราว ให้เก็บเป็นเวลาห้าปีนับแต่วันที่ท าธุรกรรมดังกล่าว
(๒) ข้อมูลการท าธุรกรรมตามมาตรา ๒๑ เป็นเวลาอย่างน้อยห้าปีนับแต่ได้มีการท าธุรกรรมหรือ
บันทึกข้อเท็จจริงนั้น
ห ลั กเ กณฑ์ วิ ธี กา ร แ ล ะเ งื่ อน ไขใน กา ร เ ก็ บ รั กษา ร า ย ล ะเ อี ย ด ของ ข้ อมู ล ห รื อห ลั ก ฐ า น
ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่ คณะกรรมการก าหนด ”

มาตรา ๒๖ ให้ยกเลิกมาตรา ๒๒/๑ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘

มาตรา ๒๗ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นหมวด ๒/๑ การก ากับและตรวจสอบผู้มีหน้าที่รายงาน
มาตรา ๒๓/๑ มาตรา ๒๓/๒ มาตรา ๒๓/๓ และมาตรา ๒๓/๔ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒
“หมวด ๒/๑
การก ากับและตรวจสอบผู้มีหน้าที่รายงาน

มาตรา ๒๓/๑ ให้ส านักงานมีหน้าที่และอ านาจก ากับ ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติตาม
พระราชบัญญัตินี้ของผู้มีหน้าที่รายงาน สาขา หรือบริษัทในเครือ ที่อยู่ ใน กลุ่มธุรกิจทางการเงิน ไม่ว่าที่อยู่
ในประเทศหรือนอกประเทศ ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับภายในของประเทศนั้น
การก ากับ ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ
วิธีการ ที่คณะกรรมการก าหนด
มาตรา ๒๓/๒ การก ากับ ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติของผู้มีหน้าที่รายงานต าม
พร ะราชบัญญัตินี้ ให้เลขาธิการ หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายเป็นหนังสือจากเลขาธิการมีอ านาจ
ดังต่อไปนี้
(๑) เข้าไปในสถานที่ประกอบธุรกิจหรือสถานที่ตั้งของผู้มีหน้าที่รายงานหรือสถานที่ซึ่งรวบรวม
หรือประมวลข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์หรือเครื่องมืออื่นใด ของผู้มีหน้าที่รายงานดังกล่าวในระหว่างเวลา
ท าการ เพื่อสอบถามข้อเท็จจริงหรือเพื่อตรวจสอบข้อมูล เอกสาร หลักฐานหรือสิ่งอื่น ใด ๆ ที่เกี่ยวกับการปฏิบัติ
ตามบทบัญญัติในหมวด ๒ ได้ตามความจ าเป็น
(๒) ยึดหรืออายัดเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามพระราชบั ญญัตินี้ ในกรณีที่มี
หลักฐานอันควรเชื่อได้ว่ามีการ ฝ่าฝืน ไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติในหมวด ๒
(๓) สั่งให้เจ้าของกิจการ กรรมการ พนักงาน หรือลูกจ้างของผู้มีหน้าที่รายงาน หรือผู้รวบรวม
หรือประมวลข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์หรือเครื่องมืออื่นใดของผู้มีหน้าที่รายงานดั งกล่าว รวมทั้งสั่งให้

๑๒

บุคคลใดซึ่งมีส่วนรู้เห็นการกระท าหรือข้อเท็จจริงใดๆ ที่เกี่ยวข้องและจะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ
พนักงานเจ้าหน้าที่ มาให้ถ้อยค า หรือส่งส าเนา หรือแสดงข้อมูล เอกสาร หรือหลักฐานอื่นใดที่เกี่ยวข้อง
ทั้งนี้ การใช้อ านาจของพนักงานเจ้ าหน้าที่ต้องเป็นการกระท าต่อบุคคลที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเรื่องที่ด าเนินการ
ก ากับและตรวจสอบหรือด าเนินคดี และพนักงานเจ้าหน้าที่ต้องก าหนดระยะเวลาอันสมควรที่จะให้บุคคล
ดังกล่าวสามารถปฏิบัติตามค าสั่งได้
ในกรณีที่เลขาธิการหรือพนักงานเจ้าหน้าที่จะเข้าไปในสถานที่ตาม (๑) ถ้าไม่เป็นการเร่งด่วนต้องแจ้ง
เป็นหนังสือให้ทราบล่วงหน้าตามสมควร
ใน กร ณีที่ส า นั กง า น ต ร ว จ ส อบ พบ ว่ า ผู้ มีห น้ า ที่ร า ย ง า น ผู้ ใด มีข้อบ กพร่ อง ที่อา จ ก่อ ใ ห้ เ กิ ด
การไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามบทบัญญัติในหมวด ๒ เลขาธิการหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
เป็นหนังสือจาก เลขาธิการอาจแจ้งให้ผู้มีหน้าที่รายงานด าเนินการปรับปรุงหรือแก้ไขข้อบกพร่องดังกล่าวก็ได้
มาตรา ๒๓/๓ เพื่อให้การด าเนินการตามหมวดนี้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ส านักงานอาจขอ
ความร่วมมือหรือให้ความช่วยเหลือในการก ากับและตรวจสอบกับหน่วยงานที่มีอ านาจก ากับดูแลผู้มีห น้าที่
รายงานทั้งหน่วยงานในประเทศและต่างประเทศได้
ในกรณีที่หน่วยงานของต่างประเทศที่มีหน้าที่และอ านาจก ากับและตรวจสอบผู้มีหน้าที่รายงาน
ท านองเดียวกันกับส านักงาน ร้องขอความร่วมมือหรือความช่วยเหลือในการก ากับและตรวจสอบผู้มีหน้าที่
รายงานที่อยู่ในประเทศไทย ส านักงานอาจให้ความร่วมมือหรือความช่วยเหลือในกรณีดังกล่าวได้ แต่ต้องอยู่
ภายใต้หลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
(๑) การให้ ความช่วยเหลือนั้นต้องไม่ขัดต่อประโยชน์สาธารณะหรือการรักษาความลับ ของประเทศ
(๒) หน่วยงานต่างประเทศที่ร้องขอความช่วยเหลือตกลงหรือยินยอมที่จะให้ความช่ วยเหลือ
ในท านองเดียวกันเป็นการตอบแทนหากได้รับค าร้องขอจากส านักงาน
มาตรา ๒๓/๔ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๒๓/๒ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจ าตัว
และหนังสือมอบหมายจากเลขาธิการแก่บุคคลที่เกี่ยวข้อง ”

มาตรา ๒๘ ให้ยกเลิกความใน (๒) ของมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยค าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๓๘/๒๕๖๐
เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบและอ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
และให้ ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๒) ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปลัดกระทรวงพาณิชย์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงยุติธรรม เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ
อัยการสูงสุด ผู้บัญชาการต ารวจแห่งชาติ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย เลข าธิการคณะกรรมการก ากับและ
ส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เลขาธิการส านักงานคณะกรรมการก ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
และเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เป็นกรรมการ ”

๑๓

มาตรา ๒๙ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและ
ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“ให้คณะกรรมการทั้งสิบแปดคนเลือกกันเองเป็นประธานกรรมการคนหนึ่ง และรองประธาน
กรรมการอีกคนหนึ่ง โดยประธานกรรมการต้องได้รับคะแนนเสียงสองในสามของจ านวนกรรมการทั้งหมด ”

มาตรา ๓๐ ให้ยกเลิกความในวรรคสี่ของมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยค าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๓๘/๒๕๖๐
เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบและอ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“ในกรณีกรรมการโดยต าแหน่งตาม (๒) มีความจ าเป็นไม่อาจมาประชุมกรรม การ ครั้ง ใด
จะมอบหมายให้ผู้ด ารงต าแหน่งรองหรือต าแหน่งไม่ต่ ากว่าระดับอธิบดีหรือเทียบเท่า ซึ่งมีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ในคณะกรรมการมาประชุมแทนเฉพาะครั้งนั้นก็ได้ ”

มาตรา ๓๑ ให้ยกเลิกความใน (๓) ของมาตรา ๒๔/๒ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๕๘

มาตรา ๓๒ ให้ยกเลิกความใน (๖) ของมาตรา ๒๔/๒ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่ มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๖) ไม่เป็นกรรมการ ผู้จัดการ ที่ปรึกษา หรือด ารงต าแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะคล้ายกันในกิจการ
ของผู้มีหน้าที่รายงานหรือมีผลประโยชน์เกี่ยวข้องในห้างหุ้นส่วน บริษัทหรือบุคคลใดที่มีหน้าที่รายงานตาม
พระราชบัญญัตินี้หรือประกอบอาชีพหรือวิชาชีพอย่างอื่นหรือประกอบการใดๆ อันขัดต่อการปฏิบัติหน้าที่ตาม
พระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่เป็นผู้แทนของหน่วยงานของรัฐที่มีกฎหมายบัญญัติไว้โดยเฉพาะ ”

มาตรา ๓๓ ให้ยกเลิกความใน (๓) ของ มาต รา ๒๕ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยค าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๓๘/๒๕๖๐
เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบและอ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๓) ก า กับดูแลให้คณะกรรมการธุรกรรม ส านักงาน และเลขาธิการปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นอิสระ
และสามารถตรวจสอบได้ ”

๑๔

มาตรา ๓๔ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและ
ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ พ้นจากต าแหน่งก่อนวาระ ให้แต่งตั้งผู้อื่นด ารงต าแหน่งแทนและ
ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งแทนต าแหน่งที่ว่างนั้นอยู่ในต าแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้
แต่งตั้งไว้แล้ว เว้นแต่วาระของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจะเหลือไม่ถึงเก้าสิบวันจะไม่แต่งตั้งกรรมก ารผู้ทรงคุณวุฒิ
แทนก็ได้ ทั้งนี้ ในระหว่างที่ยังไม่ได้แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนต าแหน่งที่ว่าง ให้คณะกรรมการ
ประกอบด้วยกรรมการเท่าที่เหลืออยู่ ”

มาตรา ๓๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (๒/๑) ในวรรคหนึ่ง ของมาตรา ๓๘ แห่งพระราชบัญญัติ
ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒
“(๒/๑) ท าส าเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์จากระบบคอมพิวเตอร์ สั่งให้
บุคคลซึ่งครอบครองหรือควบคุมข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อให้ส่งมอบ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ห รืออุปกรณ์ดังกล่าวเพื่อตรวจสอบ ถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ของบุคคลใด หรือ
สั่งให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการเข้ารหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ ท าการถอดรหัสลับ หรือให้ความร่วมมือกับ
พนั กง า น เ จ้ า ห น้ า ที่ใน กา ร ถอด ร หั สลั บ ดั งกล่ า ว ร ว มทั้ง ยึ ด ห รื ออา ยั ด ร ะบ บ คอมพิ ว เ ต อร์ เ ท่า ที่จ า เป็น
เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบหรือเพื่อประกอบการพิจารณา ”

มาตรา ๓๖ ให้ เพิ่ม ความ ต่อไปนี้เป็น (๓/๖) และ (๓/๗) ของ มาตรา ๔๐ แห่งพระราชบัญญัติ
ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘
“(๓/ ๖) แจ้งรายชื่อผู้กระท าความผิดตามพระราชบัญญัตินี้หรือผู้มีหน้าที่รายงานซึ่งฝ่าฝืนหรือ
ไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นที่อยู่ในหน้าที่และอ านาจของส านักงาน รวมทั้งรายชื่อบุคคล
ที่ถูกก าหนดตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายหรือ
การการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพท าลายล้างสูง ไปยังหน่วยงานอื่นของรัฐห รือหน่วยงานก ากับดูแลผู้มีหน้าที่
รายงาน เพื่อพิจารณาด าเนินการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
(๓/ ๗) จัดท าและพัฒนาระบบฐานข้อมูลเกี่ยวกับรายชื่อบุคคลที่มีความเสี่ยงด้านการฟอกเงิน
การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายหรือการสนับสนุนทางการเงินแก่การแพร่ขยายอาวุธที่มีอ านุภาพ
ท าลายล้างสูง เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้เกี่ยวกับ การ ตรวจสอบ เพื่อทราบ ข้อเท็จจริง
เกี่ยวกับลูกค้า หรือเพื่อด าเนินการตามกฎหมายอื่น ”

๑๕

มาตรา ๓๗ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๔๖/๔ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒
“มาตรา ๔๖/๔ ค่าใช้จ่ายและวิธีการเบิกจ่ายส าหรับการก ากับ ตรวจสอบ และประเมินผลการ
ปฏิบัติของผู้มีหน้าที่รายงาน การสืบสวน ตรวจสอบหรือรวบรวมพยานหลักฐานในการด าเนินคดีกับผู้กระท า
ความผิด การด าเนินการเกี่ยวกับทรัพย์สิน การเก็บรักษาและการจัดการทรัพย์สิน การด าเนินการอื่ นใดตาม
พระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย
แ ล ะกา ร แ พร่ ขย า ย อา วุ ธ ที่มี อ า นุ ภ า พ ท า ล า ย ล้ า ง สู ง ให้ เ ป็ น ไป ต า มร ะเ บี ย บ ที่ คณ ะ กร ร ม กา ร ก า ห น ด
โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง ”

มาตรา ๓๘ ให้ยกเลิกความในวรรคสี่ของมาตรา ๔๘ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“ผู้ท าธุรกรรมซึ่งถูกสั่งยึดหรืออายัดทรัพย์สินหรือผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์สินจะแสดงหลักฐานว่า
เงินหรือทรัพย์สินในการท าธุรกรรมนั้นมิใช่ทรัพย์ สินที่เกี่ยวกับการกระท าความผิด หรือตนเป็นเจ้าของที่แท้จริง
และมิได้รู้เห็นเป็นใจหรือยินยอมให้ทรัพย์สินนั้นถูกใช้หรือครอบครองไว้เพื่อใช้หรือสนับสนุนในการกระท า
ความผิดมูลฐานหรือความผิดฐานฟอกเงิน หรือตนเป็นผู้รับโอนทรัพย์สินมาโดยสุจริตและมีค่าตอบแทนหรือ
ได้มาโดยสุ จริตและตามสมควรในทางศีลธรรมอันดีหรือในทางกุศลสาธารณะ เพื่อให้มีค าสั่งเพิกถอนการยึดหรือ
อายัดตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และภายในระยะเวลาที่ก าหนดในกฎกระทรวงก็ได้ และหากคณะกรรมการ
ธุรกรรมพิจารณาแล้วมีค าสั่งเพิกถอนการยึดหรืออายัดดังกล่าว ให้ส านักงานคืนทรัพย์สินแก่ผู้ ขอรับทรัพย์สิน
คืนโดยเร็ว ในกรณีเช่นว่านี้ ถ้าไม่มีผู้ใดขอรับคืนทรัพย์สินภายในสองปีนับแต่วันที่คณะกรรมการธุรกรรมมีค าสั่ง
ดังกล่าว ให้ส านักงานน าทรัพย์สินนั้นส่งเข้ากองทุน และในกรณีที่มีผู้มาขอรับคืนโดยใช้สิทธิขอรับคืนตาม
กฎหมายอื่นซึ่งสามารถท าได้ถึงแม้จะเกินกว่ าก าหนดสองปี ให้ส านักงานส่งคืนทรัพย์สินนั้นแก่ผู้มาขอรับคืน
ห า กไม่อา จ ส่ ง คืน ทรั พย์ สิ น ได้ ให้ คืน เ ป็ น เ งิ น จ า ก ก อง ทุน แ ทน ห า กยั ง ไม่มีผู้ มา รั บ คืน เ มื่อล่ ว ง พ้ น ห้ า ปี
ให้ ทรั พย์ สิ น นั้ น ต กเ ป็น ของ กอง ทุน ทั้ง นี้ ห ลั กเ กณฑ์ วิ ธี กา ร กา ร เ ก็บ รั กษา แ ล ะกา ร จั ด การ ทรัพย์สิน
ห รื อ เ งิ น ใ น ร ะ ห ว่ า ง ที่ ยั ง ไ ม่ มี ผู้ ม า รั บ คื น ใ ห้ เ ป็ น ไ ป ต า ม ร ะ เ บี ย บ ที่ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ห น ด ”

มาตรา ๓๙ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๔๙ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและ
ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“ในกรณีที่พนักงานอัยการเห็นว่าเรื่องตามวรรคหนึ่งยัง ไม่สมบูรณ์พอที่จะยื่นค าร้องขอให้ศาล
มีค าสั่งให้ทรัพย์สินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนตกเป็นของแผ่นดินได้ ให้พนักงานอัยการรีบแจ้งให้เลขาธิการทราบ
เพื่อด าเนินการต่อไป โดยให้ระบุข้อที่ไม่สมบูรณ์นั้นให้ครบถ้วนในคราวเดียวกัน และเมื่อเลขาธิการได้รับเรื่อง
คืนจากพนักงานอั ยการแล้วให้รีบด าเนินการโดยเร็ว และในการ ส่งเรื่อง ไปยังพนักงาน อัย การต้องได้รับ
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการธุรกรรม ทั้งนี้ ในกรณีที่ค าสั่งยึดหรืออายัดทรัพย์สินตามมาตรา ๔๘
จะครบก าหนดระยะเวลาเก้าสิบวันและมีเหตุจ าเป็นที่พนักงานอัยการไม่สามารถยื่นค าร้องขอให้ศาลมีค าสั่งให้
ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินได้ก่อนครบก าหนดระยะเวลาดังกล่าวเนื่องจากต้องรอผลการด าเนินการของ

๑๖

ส านักงานในการแก้ไขข้อที่ไม่สมบูรณ์หรือรอผลการวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมกา รตามวรรคสามซึ่งอาจท าให้
ระยะเวลาเกินก าหนดเก้าสิบวัน ให้เลขาธิการรีบแจ้งพนักงานอัยการ พร้อมระบุเหตุผลความจ าเป็นดังกล่าว
เพื่อ ให้ ยื่นค าร้องขอต่อศาลเพื่อพิจารณาขยายระยะเวลาการยึดหรืออายัดออกไปอีกได้ แต่พนักงานอัยการต้อง
ยื่นค าร้องก่อนสิ้นก าหนดระยะเวลาตามมาตรา ๔๘ วรรคหนึ่งและเมื่อศาลรับค าร้องแล้วจะสั่งให้ขยายครั้งเดียว
หรือหลายครั้งก็ได้แต่เมื่อรวมเวลาที่ขยายแล้วต้องไม่เกินเก้าสิบวันนับแต่วันสิ้นก าหนดระยะเวลาตาม
มาตรา ๔๘ วรรคหนึ่งดังกล่าว ”

มาตรา ๔๐ ให้ยกเลิกความในวรร คห้ าของ มาต รา ๔๙ แห่งพระราชบัญญั ติป้ อง กั น แ ล ะ
ปราบป รามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“เมื่อศาลรับค าร้องที่พนักงานอัยการยื่นต่อศาลแล้ว ให้ศาลสั่งให้ลงประกาศโดยวิธีการลงโฆษณา
ทางสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศของศาลและของส านักงานเพื่อให้ผู้ซึ่งอาจอ้างว่าเป็นเจ้าของ หรือ เป็นผู้ มีส่วนได้เสีย
ในทรัพย์สินที่พนักงานอัยการร้องขอให้ตกเป็นของแผ่นดินมายื่นค าร้องขอก่อนศาลมีค าสั่ง และถ้ามีหลักฐาน
แสดงว่าผู้ใดที่อาจอ้างว่าเป็นเจ้าของ หรือ เป็นผู้มีส่วนได้เสีย ในทรัพย์สิน ก็ให้เลขาธิการมีหนังสือแจ้งให้ผู้นั้น
ทราบเพื่อใช้สิทธิดังกล่าวโดยแจ้งทางไปรษณีย์ลงทะเบี ยนตอบรับตามที่อยู่ครั้งหลังสุดของผู้นั้นเท่าที่ปรากฏ
ในหลักฐานหรือด าเนินการแจ้งโดยส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรือสื่อดิจิทัลอื่นใดหรือวิธีการอื่นตามที่ศาล
เห็นสมควรและ เมื่อได้แจ้งโดยวิธีการดังกล่าว ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้นั้นได้ทราบหรือได้รับแจ้งแล้ว ”

มาตรา ๔๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (๑/๑) ของ มาตรา ๕๐ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและ
ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒
“(๑/ ๑) ตนเป็นเจ้าของที่แท้จริง และ มิได้รู้เห็นเป็นใจ หรือยินยอมให้ทรัพย์สินนั้นถูกใช้หรือ
ครอบครอง ไว้เพื่อใช้ หรือสนับสนุน ในการ กระท าความผิดมูลฐานหรือความผิดฐานฟอกเงิน ”

มาตรา ๔๒ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๕๑ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและ
ปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระร