Social Enterprise Act

For optimal readability, we highly recommend downloading the document PDF, which you can do below.

Document Information:


้ หนา ๓๒
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒
พระราชบัญญัติ
ส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม
พ.ศ. ๒๕๖๒

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ
พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕ ๖๒
เป็นปีที่ ๔ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
มีพระ บรม ราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งมาตรา ๒๖ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๗ และมาตรา ๔๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
บัญญัติให้กระท าได้โดยอาศัยอ านาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
เหตุผลและความจ าเป็นในการจ ากัดสิ ทธิและเสรีภาพของบุคคลตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อให้
การก ากับดูแลการประกอบกิจการของวิสาหกิจเพื่อสังคมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อันเป็นการจัดระเบียบ
การประกอบอาชีพเพียงเท่าที่จ าเป็นและเป็นการคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งการตราพระราชบัญญัตินี้สอดคล้องกับ
เงื่อนไขที่บั ญญัติไว้ในมาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอมของ
สภานิติบัญญัติแห่งชาติท าหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบั ญญั ติ นี้ เรี ยกว่ า “พระราชบั ญญั ติ ส่ งเสริ มวิ สาหกิ จเพื่ อสั งค ม
พ.ศ. ๒๕๖๒ ”

้ หนา ๓๓
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
“วิสาหกิจเพื่อสังคม ” หมายความว่า บริษัท ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล หรือนิติบุคคลอื่น ที่ตั้งขึ้น
ตามกฎหมายไทย ซึ่งด าเนินกิจการเกี่ยวกับการผลิต การจ าหน่ายสินค้า หรือการบริการ โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อสังคมเป็นเป้าหมายหลักของกิจการ และได้รับการจดทะเบียนตามพระราชบัญญัตินี้
“กลุ่มกิจการเพื่อสังคม ” หมายความว่า บุคคลธรรมดา กลุ่มบุคคล ชุมชน หรือนิติบุคคล
ที่ตั้งขึ้ นตามกฎหมายไทย ซึ่งด าเนินกิจการเกี่ยวกับการผลิต การจ าหน่ายสินค้า หรือการบริการ โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อสังคมเป็นเป้าหมายหลักของกิจการ และได้รับการจดแจ้งเป็นกลุ่มกิจการเพื่อสังคม
ตามพระราชบัญญัตินี้
“กองทุน ” หมายความว่า กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม
“คณะกรรมการ ” หมายความว่า คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม
“ผู้อ านวยการ ” หมายความว่า ผู้อ านวยการส านักงานส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม
“ส านักงาน ” หมายความว่า ส านักงานส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม
“นายทะเบียน ” หมายความว่า ผู้อ านวยการส านักงานส่งเสริมวิสา หกิจเพื่อสังคมหรือ
ผู้ซึ่งผู้อ านวยการมอบหมาย
“พนักงานเจ้าหน้าที่ ” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี ” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และ ให้มีอ านาจแต่งตั้ง
พนักงานเจ้าหน้าที่และออกประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
ประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
หมวด ๑
วิสาหกิจเพื่อสังคม

มาตรา ๕ กิจการที่จะจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจเพื่อสังคมตามพระราชบัญญัตินี้ ต้องมี
วัตถุประสงค์เพื่อสังคมเป็นเป้าหมายหลักของกิจการ และต้องมีลักษณะ ดังต่อไปนี้

้ หนา ๓๔
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒(๑) มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อส่งเสริมการจ้างงานแก่บุคคลผู้สมควรได้รับการส่งเสริมเป็นพิเศษ
การแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาชุมชน สังคม หรือสิ่งแวดล้อม หรือเพื่อประโยชน์ส่วนรวมอื่นหรื อคืนประโยชน์
ให้แก่สังคมตามที่รัฐมนตรีประกาศก าหนด
(๒) มีรายได้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบมาจากการจ าหน่ายสินค้าหรือการบริการ เว้นแต่กิจการ
ที่ไม่ประสงค์จะแบ่งปันก าไรให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นอาจมีรายได้น้อยกว่าร้อยละห้าสิบมาจาก
การจ าหน่ายสินค้าหรือการบ ริการ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศ
ก าหนด
(๓) น าผลก าไรไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ตาม (๑) และแบ่งปันก าไร
ให้แก่ผู้เป็นเจ้าของกิจการหรือผู้ถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละสามสิบของผลก าไรทั้งหมด โดยให้ถือว่าการลงทุ น
ในกิจการของตนเองซึ่งมีกระบวนการผลิตหรือการบริการที่มีลักษณะตาม (๑) หรือการขยายกิจการ
เพื่อวัตถุประสงค์ตาม (๑) ตามเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศก าหนดเป็นการน าผลก าไรไปใช้เพื่อสังคม
(๔) มีการก ากับดูแลกิจการที่ดี
(๕) ไม่เคยถูกเพิกถอนการจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจเ พื่อสังคม เว้นแต่พ้นก าหนดสองปีนับถึง
วันยื่นค าขอจดทะเบียนเพื่อขอรับการส่งเสริมหรือสนับสนุนตามพระราชบัญญัตินี้
(๖) ไม่มีหุ้นส่วน กรรมการหรือผู้มีอ านาจจัดการแทนนิติบุคคล หรือผู้ถือหุ้นซึ่งถือหุ้นตั้งแต่
ร้อยละยี่สิบห้าขึ้นไป ซึ่งเคยเป็นหุ้นส่วน กรรมการหรื อผู้มีอ านาจจัดการแทนนิติบุคคล หรือผู้ถือหุ้น
ตั้งแต่ร้อยละยี่สิบห้าขึ้นไป ในกิจการที่เคยถูกเพิกถอนการจดทะเบียนตาม (๕) เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่า
ตนมิได้มีส่วนร่วมหรือรู้เห็นกับการกระท าของนิติบุคคลที่เป็นเหตุให้ถูกเพิกถอนการจดทะเบียน
การค านวณก าไรและการแบ่งปั นก าไรตาม (๓) และการก ากับดูแลกิจการที่ดีตาม (๔) ให้เป็นไป
ตามที่คณะกรรมการประกาศก าหนด
มาตรา ๖ การจดทะเบียนวิสาหกิจเพื่อสังคมมีสองประเภท ดังต่อไปนี้
(๑) วิสาหกิจเพื่อสังคมที่ไม่ประสงค์จะแบ่งปันก าไรให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้น
(๒) วิสาหกิจเพื่อสัง คมที่ประสงค์จะแบ่งปันก าไรให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้น
วิสาหกิจเพื่อสังคมที่ไม่ประสงค์จะแบ่งปันก าไรให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นตาม (๑)
ให้สามารถด าเนินการจัดตั้งห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือบริษัทจ ากัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
หรือบริษัทมหา ชนจ ากัดตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจ ากัดได้ โดยให้ถือว่าวัตถุประสงค์ในการน า
ผลก าไรไปใช้เพื่อสังคมเป็นการแบ่งปันก าไรอันจะพึงได้แต่กิจการที่ท านั้น
การเปลี่ยนแปลงประเภทของวิสาหกิจเพื่อสังคมตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศก าหนด

้ หนา ๓๕
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒มาตรา ๗ กิจการใดประสงค์จะเป็นวิสาหกิจเพื่อสังคมให้ยื่นค าขอจดทะเบียนต่อส านักงาน
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และแบบที่ส านักงานประกาศก าหนด โดยค าขอต้องประกอบด้วยรายการ
ดังต่อไปนี้
(๑) ชื่อกิจการและที่ตั้งของนิติบุคคล
(๒) หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล
(๓) มติของที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้น ข้อตกลงของผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนหรือมติของคณะกรรมการ
ของนิติบุคคล
(๔) ชื่อและที่อยู่ของผู้มีอ านาจท าการแทนนิติบุคคล
(๕) หนังสือบริคณห์สนธิ ถ้ามี
(๖) หนังสือแสดงเจตนารมณ์การจัดตั้งวิสาหกิจเพื่ อสังคมและรายละเอียดของกิจการ
ซึ่งด าเนินกิจการมาแล้วตามระยะเวลาที่คณะกรรมการก าหนด
(๗) ความประสงค์ที่จะจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจเพื่อสังคมตามมาตรา ๖ (๑) หรือ (๒)
(๘) รายการอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศก าหนด
มาตรา ๘ เมื่อส านักงานได้รับค าขอจดทะเบียนและนายทะเบีย นเห็นว่ากิจการที่ยื่นค าขอ
มีวัตถุประสงค์และลักษณะตามมาตรา ๕ และมาตรา ๗ ให้นายทะเบียนรับจดทะเบียนและ
ออกใบส าคัญแสดงการจดทะเบียนแก่กิจการนั้น และประกาศให้สาธารณชนทราบเป็นการทั่วไป
กิจการที่จดทะเบียนตามวรรคหนึ่ง อาจใช้ค าว่า “วิสาหกิจเพื่อสังคม ” ประกอบใ นชื่อกิจการ
ตามใบส าคัญแสดงการรับจดทะเบียนดังกล่าวก็ได้
การเปลี่ยนแปลงรายการจดทะเบียนตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการประกาศ
ก าหนด
ในกรณีที่นายทะเบียนมีค าสั่งไม่รับจดทะเบียน ให้มีสิทธิอุทธรณ์ค าสั่งดังกล่าวต่อคณะกรรมการ
วินิจฉัยอุทธรณ์ตามมาตรา ๗๑
มาตรา ๙ ห้ามมิให้บุคคลใดใช้ค าว่า “วิสาหกิจเพื่อสังคม ” ประกอบเป็นชื่อในการด าเนิน
กิจการเกี่ยวกับการผลิต การจ าหน่ายสินค้า การบริการ หรือการอื่น ๆ เว้นแต่เป็นผู้ได้รับการจดทะเบียน
ตามมาตรา ๘
มาตรา ๑๐ ในกรณีที่ใบส าคัญแสดงการจดทะเบียนสูญหาย ถูกท าลาย หรือช ารุดใ น
สาระส าคัญ ให้วิสาหกิจเพื่อสังคมยื่นค าขอรับใบแทนใบส าคัญแสดงการจดทะเบียนดังกล่าวต่อนายทะเบียน
ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้ทราบการสูญหาย ถูกท าลาย หรือช ารุดดังกล่าว

้ หนา ๓๖
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒การขอและการออกใบแทนใบส าคัญแสดงการจดทะเบียน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขที่ค ณะกรรมการประกาศก าหนด
มาตรา ๑๑ วิสาหกิจเพื่อสังคมต้องด าเนินการตามวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๕ และ
หนังสือแสดงเจตนารมณ์การจัดตั้งวิสาหกิจเพื่อสังคมตามมาตรา ๗ (๖) รวมทั้งปฏิบัติตามบทบัญญัติ
แห่งพระราชบัญญัตินี้
ให้วิสาหกิจเพื่อสังคมวางและรักษาไว้ซึ่งระบบบัญชีที่เหมาะสมเพื่อให้สามารถจัดท ารายงาน
ทางการเงิน แสดงฐานะทางการเงิน และผลการด าเนินงานของวิสาหกิจเพื่อสังคมได้อย่างถูกต้อง
ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยมีการตรวจสอบและแสดงความเห็นทุกปีโดยผู้สอบบัญชีที่ส านั กงาน
ประกาศก าหนด
มาตรา ๑๒ เพื่อประโยชน์ในการเพิ่มประสิทธิภาพและก ากับดูแลการด าเนินงานของวิสาหกิจ
เพื่อสังคมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม ให้วิสาหกิจเพื่อสังคม
จัดท ารายงานผลการประกอบกิจการประจ าปี รายงานทางการเงินที่รับรอง โดยผู้สอบบัญชี และรายงาน
ผลลัพธ์จากการด าเนินกิจการเพื่อสังคมยื่นต่อส านักงานตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ส านักงาน
ประกาศก าหนด
วิสาหกิจเพื่อสังคมใดไม่ด าเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ส านักงานมีหนังสือเตือนให้วิสาหกิจ
เพื่อสังคมนั้นด าเนินการภายในระยะเวลาที่ก า หนด
มาตรา ๑๓ ให้วิสาหกิจเพื่อสังคมมีหน้าที่น าส่งเงินสมทบเข้ากองทุนเป็นรายปีตามหลักเกณฑ์
วิธีการ และอัตราที่คณะกรรมการประกาศก าหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
วิสาหกิจเพื่อสังคมใดไม่น าส่งเงินสมทบเข้ากองทุนหรือน าส่งไม่ครบภายในระยะเวลาที่ก าหนด
ต้องเสียเงิ นเพิ่มในอัตราไม่เกินร้อยละหนึ่งต่อเดือนของจ านวนเงินสมทบที่ไม่น าส่งหรือน าส่งไม่ครบ ทั้งนี้
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศก าหนด
มาตรา ๑๔ วิสาหกิจเพื่อสังคมซึ่งประสงค์จะเลิกการเป็นวิสาหกิจเพื่อสังคม ให้แจ้งเป็น
หนังสือ ต่อนายทะเบียนภาย ในสามสิบวันนับแต่วันที่มีมติของที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้น ข้อตกลงของผู้เป็น
หุ้นส่วนทุกคน หรือมติของคณะกรรมการของนิติบุคคล และให้นายทะเบียนลบชื่อวิสาหกิจเพื่อสังคมนั้น
ออกจากทะเบียน และประกาศให้สาธารณชนทราบเป็นการทั่วไป
ในการเลิกการเป็นวิสาหกิจเพื่อสังคม นายทะเบียนจะก าหนดเงื่อนไขให้วิสาหกิจเพื่อสังคมนั้น
ปฏิบัติด้วยก็ได้

้ หนา ๓๗
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒หมวด ๒
คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม

มาตรา ๑๕ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม ”
ประกอบด้วย
(๑) นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ
(๒) กรรมการโดยต าแหน่ง จ านวนสิบสองคน ได้แก่ ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปลัดกระทรวงพาณิชย์
ปลัดกระทรวงทรัพยากรธร รมชาติและสิ่งแวดล้อม ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เลขาธิการคณะกรรมการก ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธาน
สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และประธานสมาคมธนาคารไทย
(๓) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่ง นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งจ านวนแปดคน ได้แก่ ผู้ประกอบกิจการ
วิสาหกิจเพื่อสังคมหรือกลุ่มกิจการเพื่อสังคม จ านวนสามคน ผู้ปฏิบัติงานในภาคเอกชน จ านวนสามคน
และ ผู้ทรงคุณวุฒิอื่น จ านวนสองคน โดยผู้ปฏิบัติงานในภาคเอกชนและผู้ทรงคุณวุฒิอื่นจะต้องมาจาก
ผู้มีคว ามรู้คว ามเชี่ยว ชาญใน ด้าน การเงิน ด้าน การลงทุน ด้าน กฎห มาย ด้าน สื่อสารมว ลชน
ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ด้านการสาธารณสุข ด้านการศึกษา ด้านการพัฒนาสังคม
ด้านการตลาด หรือด้านการออกแบบ ทั้งนี้ ให้แต่งตั้งด้านละไม่เกินหนึ่งคน
ให้ผู้อ านวย การเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้ผู้อ านวยการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ในส านักงาน
เป็นผู้ช่วยเลขานุการ จ านวนไม่เกินสามคน
มาตรา ๑๖ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มีอายุไม่เกินเจ็ดสิบปี
(๓) ไม่เป็นบุคคลล้ มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต
(๔) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๕) ไม่เคยได้รับโทษจ าคุกโดยค าพิพากษาถึงที่สุดให้จ าคุก เว้นแต่เป็นโทษส าหรับความผิด
ที่ได้กระท าโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๖) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากงาน เพราะทุจริตต่อหน้าที่

้ หนา ๓๘
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒(๗) ไม่เป็นผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการ
หรือผู้ด ารงต าแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่
ในพรรคการเมือง
(๘) ไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสียในการด าเนินงา นของกองทุนไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม เว้นแต่
เป็นผู้ประกอบกิจการวิสาหกิจเพื่อสังคมหรือกลุ่มกิจการเพื่อสังคม
มาตรา ๑๗ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการด ารงต าแหน่งคราวละสามปีนับแต่วันที่ได้รับ
แต่งตั้ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากต าแหน่งแล้วอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะด ารงต าแหน่งติดต่อกัน
เกินสองวาระมิได้
ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต าแหน่งก่อนวาระ ให้นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิแทนต าแหน่งที่ว่าง และให้ผู้ได้รับแต่งตั้งแทนต าแหน่ง ที่ว่างอยู่ในต าแหน่งเท่ากับวาระ
ที่เหลืออยู่ ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งตนแทน เว้นแต่วาระของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเหลืออยู่ไม่ถึง
เก้าสิบวัน จะไม่แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนก็ได้ และในการนี้ ให้คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการ
เท่าที่เหลืออยู่
เมื่อครบก าหนด ตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่
ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากต าแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในต าแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่า
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่
มาตรา ๑๘ นอกจากการพ้นจากต าแหน่ง ตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต าแหน่ง
เมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) นายกรัฐมนตรีให้ออก เพราะหย่อนความสามารถ บกพร่องหรือทุจริตต่อหน้าที่ หรือ
มีความประพฤติเสื่อมเสีย
(๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๖
มาตรา ๑๙ ให้คณะกรรมการมีหน้าที่และอ าน าจ ดังต่อไปนี้
(๑) ก าหนดยุทธศาสตร์ นโยบาย และแผนการส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคมแห่งชาติ เสนอต่อ
คณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ เพื่อให้ส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องถือปฏิบัติ รวมทั้งเร่งรัด
ให้มีการด าเนินงานให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ นโยบาย และแผนการส่ งเสริมอย่างมีประสิทธิภาพ
(๒) พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคมตามที่ส านักงานเสนอ

้ หนา ๓๙
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒(๓) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อให้มีการก าหนดนโยบายส่งเสริมการประกอบกิจการของ
วิสาหกิจเพื่อสังคมโดยการก าหนดสิทธิประโยชน์ด้านภาษีอากรตามมาตรา ๕๙ (๒) มาตรการจัดซื้อจัดจ้าง
และการบริหารพัสดุภาครัฐตามกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐตามมาตรา
๕๙ (๓) สิทธิประโยชน์ตามกฎหมายอื่นตามมาตรา ๕๙ (๔) และสิทธิประโยชน์ด้านภาษีอากรแก่
บุคคลซึ่งให้การสนับสนุนกิจการ ของวิสาหกิจเพื่อสังคมตามมาตรา ๖๓
(๔) เสน อแ น ะต่อคณะรัฐมนต รีให้ มีการปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับ ห รือ
มติคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับแผนการส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคมแห่งชาติ
(๕) สนับสนุนการศึกษาวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการด าเนินกิจการของวิสาหกิจเพื่อสังคม
และกลุ่มกิจ การเพื่อสังคม
(๖) จัดให้มีสมัชชาวิสาหกิจเพื่อสังคม
(๗) ก าหนดให้วิสาหกิจเพื่อสังคมน าส่งเงินสมทบหรือเสียเงินเพิ่มเข้ากองทุนตามมาตรา ๑๓
(๘) ให้ความเห็นชอบความตกลงหรือความร่วมมือระหว่างส านักงานกับหน่วยงานต่างประเทศ
หรือ องค์การระหว่างประเทศ
(๙) แต่งตั้งคณะกรร มการวินิจฉัยอุทธรณ์ตามมาตรา ๗๑
(๑๐) ควบคุมดูแลส านักงานให้ด าเนินกิจการให้เป็นไปตามกฎหมายและวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้
ก าหนดนโยบายการบริหารงาน และให้ความเห็นชอบแผนการด าเนินงานและงบประมาณของส านักงาน
รวมทั้งออกระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศเกี่ยวกับส านักงานใน เรื่อง ดังต่อไปนี้
(ก) การบริหารงานบุคคล การเงิน การพัสดุ การบัญชี และการจ าหน่ายทรัพย์สินจาก
บัญชีเป็นสูญ รวมทั้งการด าเนินการหรือการบริหารงานอื่นที่จ าเป็นของส านักงาน
(ข) การสรรหา การจ้าง การปฏิบัติงานและการประเมินผลงานของผู้อ านวยการ
การรักษาการแทน และการมอบให้ผู้อื่นปฏิบัติงานแทน
(ค) การจัดสวัสดิการและสิทธิประโยชน์อื่นแก่เจ้าหน้าที่และลูกจ้าง
(ง) การก าหนดเครื่องแบบผู้อ านวยการ เจ้าหน้าที่ และลูกจ้างของส านักงานและ
เครื่องหมาย ของส านักงาน
(จ) การก าหนดอัตราค่าธรรมเนียม ค่าตอบแทน หรือค่าบริการในการด าเนินงานของ
ส านักงานตามมาตรา ๒๕ (๖)
(๑๑) แต่งตั้งและถอดถอนผู้อ านวยการ
(๑๒) ก ากับการบริหารกองทุนตามพระราชบัญญัตินี้

้ หนา ๔๐
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒(๑๓) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้เป็นหน้าที่และอ านาจ
ของคณะกรรมการ หรือตามที่คณะรัฐมนตรี มอบหมาย
มาตรา ๒๐ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ
จ านวน กรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
ในการประชุมคณะกรรมการ ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
ให้ที่ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม
ในการปฏิบัติหน้าที่ กรรมการผู้ใดมีส่วนได้เสียโดยทางตรงหรือทางอ้อมในเรื่องที่พิจารณา
ให้ประธานกรรมการหรือกรรมการผู้นั้นแจ้งให้ที่ประชุมทราบและให้กรรมการผู้นั้นชี้แจงข้อเท็จจริงและ
ตอบข้อซักถามเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการ แล้วต้องออกจากที่ประชุมโดยจะ มี
มติในเรื่องนั้นมิได้ การลงมติในเรื่องดังกล่าวให้กระท าโดยลับ
การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน
ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
มาตรา ๒๑ คณะ กรรมการจะแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างหนึ่ง
อย่างใดหรือท าการแทนตามที่คณะกรรมการมอบหมายก็ได้
ให้น าความในมาตรา ๒๐ มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะอนุกรรมการด้วยโดยอนุโลม
มาตรา ๒๒ ให้กรรมการและอนุกรรมการได้รับเบี้ยประชุมและประโยชน์ตอบแท นอื่น
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีก าหนด
หมวด ๓
การบริหารและการด าเนินงานของส านักงานส่งเสริมวิสาหกิจ
เพื่อสังคมและกองทุนส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม

ส่วนที่ ๑
ส านักงานส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม

มาตรา ๒๓ ให้จัดตั้งส านักงานส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคมขึ้นเป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่เป็น
ส่วนราชการ และไม่เป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอื่น
ให้ส านักงานมีฐานะเป็นนิติบุคคลและอยู่ในก ากับของนายกรัฐมนตรี

้ หนา ๔๑
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒กิจการของส านักงานไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่ง กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วย
แรงงานสัมพันธ์ กฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน แต่เจ้าหน้าที่และ
ลูกจ้างของส านักงานต้องได้รับประโยชน์ตอบแทนโดยรวมไม่น้อยกว่าที่ก าหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วย
การคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยการป ระกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน
มาตรา ๒๔ ให้ส านักงานรับผิดชอบในงานธุรการและงานวิชาการของคณะกรรมการ และ
มีหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน ให้ความช่วยเหลือ และพัฒนาวิสาหกิจเพื่อสังคมและกลุ่มกิจการเพื่อสังคม
เพื่อให้มีความเข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้ โดยมีวัตถุ ประสงค์ ดังต่อไปนี้
(๑) เสนอนโยบายและแผนการส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคมแห่งชาติให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ
และสังคม และเสนอแนวทางในการส่งเสริมหรือสนับสนุนด้านสิทธิประโยชน์แก่วิสาหกิจเพื่อสังคม หรือ
บุคคลซึ่งให้การสนับสนุนกิจการของวิสาหกิจเพื่อสังคมต่อคณะกรร มการ
(๒) จัดท าแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคมเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อให้ความเห็นชอบ
(๓) ให้ค าแนะน า ฝึกอบรม และส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคมให้สามารถพัฒนาการบริหารจัดการ
ในด้านการเงิน การบัญชี การตลาด เทคโนโลยี และด้านอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๔) ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานสินค้าและบริการของวิสาหกิจ
เพื่อสังคม
(๕) ให้ค าปรึกษาหรือความช่วยเหลือในการขอจดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคล การขออนุมัติ
อนุญาต และการจดทะเบียนสิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า หรือทรัพย์สินทางปัญญาอื่น
(๖) จัดให้มีมาตรการในการส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มกิจการเพื่อสังคมเพื่อให้สามารถพัฒนา
เป็นวิสาหกิจเพื่อสังคมได้ต่อไป
(๗) วิเคราะห์สภาพปัญหาและสถานการณ์ อุปสรรค และความส าเร็จของวิสาหกิจเพื่อสังคม
ในประเทศ และจัดท ารายงานเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรี
(๘) เป็นศูนย์กลางข้อมูลเกี่ยวกับวิสาหกิจเพื่อสังคม และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับวิสาหกิจ
เพื่อสังคม ตลอดจนรายงานสถานการณ์วิสาหกิจเพื่อสังคมของประเทศ
(๙) บริหารกองทุนตามนโยบายและมติของคณะกรรมการและคณะกรรมการบริหารกองทุน
มาตรา ๒๕ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๒๔ ให้ส านักงานมีหน้าที่และอ านาจ
ดังต่อไปนี้
(๑) ถือกรรมสิทธิ์ มีสิทธิครอบครอง และมีทรัพยสิทธิต่าง ๆ
(๒) ก่อตั้งสิทธิหรือท านิติกรรมทุกประเภทเพื่อประโยชน์ในการด าเนินกิจการของส านักงาน

้ หนา ๔๒
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒(๓) ท าความตกลงหรือร่วมมือกับหน่วยงานอื่นทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ทั้งใน ประเทศและ
ต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ รวมทั้งประสานความร่วมมือกับสถาบันการเงินในกิจการ
ที่เกี่ยวกับการด าเนินการตามวัตถุประสงค์ของส านักงาน
(๔) ถือหุ้นหรือร่วมทุนกับบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นในกิจการที่เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของส านักงาน
(๕) กู้ยืมเงินเพื่ อประโยชน์ในการด าเนินงานตามวัตถุประสงค์ของส านักงาน
(๖) เรียกเก็บค่าธรรมเนียม ค่าตอบแทน หรือค่าบริการในการด าเนินกิจการต่าง ๆ ทั้งนี้
ตามหลักเกณฑ์และอัตราที่คณะกรรมการประกาศก าหนด
(๗) ด าเนินการอื่นใดที่จ าเป็นหรือต่อเนื่องเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของส านักง าน
(๘) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้เป็นหน้าที่และอ านาจ
ของส านักงาน หรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
การถือหุ้นหรือการเข้าร่วมทุนตาม (๔) และการกู้ยืมเงินตาม (๕) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์
ที่คณะรัฐมนตรีก าหนด
มาตรา ๒๖ ทุนและทรัพ ย์สินในการด าเนินกิจการของส านักงาน ประกอบด้วย
(๑) เงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรให้ตามความเหมาะสมเป็นรายปี
(๒) เงินอุดหนุนจากภาคเอกชนหรือองค์กรอื่น ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ รัฐบาล
ต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ และเงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคห รือมอบให้ส านักงาน
(๓) ค่าธรรมเนียม ค่าตอบแทน และค่าบริการ
(๔) ดอกผลของเงินหรือรายได้จากทรัพย์สินของส านักงาน
การรับเงินหรือทรัพย์สินตาม (๒) จะต้องไม่กระท าในลักษณะที่ท าให้ส านักงานขาดความเป็น
อิสระ หรือความเป็นกลาง
มาตรา ๒๗ บรรดารายได้ของส านักงานไม่ต้องน าส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน
ในกรณีมีเหตุจ าเป็นหรือสมควร ส านักงานโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอาจน ารายได้
ของส านักงานในจ านวนที่เห็นสมควรส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน
มาตรา ๒๘ การใช้จ่ายเงินของส านักงาน ให้ใช้จ่ายเพื่อกิจการของส านักงานโด ยเฉพาะ
การเก็บรักษาและการเบิกจ่ายเงินของส านักงาน ให้เป็นไปตามข้อบังคับที่คณะกรรมการก าหนด
มาตรา ๒๙ ให้ส านักงานมีผู้อ านวยการคนหนึ่ง เป็นผู้บริหารงานของส านักงานภายใต้
การก ากับดูแลของคณะกรรมการ
ให้คณะกรรมการเป็นผู้มีอ านาจแต่งตั้งและถอดถอนผู้อ านวยการ

้ หนา ๔๓
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒การสรรหาและการจ้างผู้อ านวยการ ให้เป็นไปตามข้อบังคับที่คณะกรรมการก าหนด
มาตรา ๓๐ ในการแต่งตั้งผู้อ านวยการต้องด าเนินการให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่
วันที่มีเหตุต้องแต่งตั้งผู้อ านวยการ และหากมีเหตุผลจ าเป็นให้คณะกรรมการขยายระยะเวลาได้อีก
ไม่เกินหกสิบวัน หากด าเนินการไม่แล้วเสร็จภายในระยะเวลาดังกล่าว ให้คณะกรรมการรายงานผลต่อ
คณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา
มาตรา ๓๑ ผู้อ านวยการต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(๑) เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์เกี่ยวกับวิสาหกิจเพื่อสังคมหรือการบริหาร
จัด การองค์กร
(๒) เป็นผู้สามารถปฏิบัติงานให้แก่ส านักงานได้เต็มเวลา
(๓) มีอายุไม่เกินหกสิบห้าปีในวันที่ได้รับการแต่งตั้ง
(๔) มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๖ (๑) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘)
มาตรา ๓๒ ผู้อ านวยการจะต้องไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสี ยในกิจการที่กระท ากับส านักงาน ทั้งนี้
ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม เว้นแต่เป็นผู้ซึ่งคณะกรรมการมอบหมายให้เป็นประธานกรรมการหรือ
กรรมการ ในบริษัทจ ากัดหรือบริษัทมหาชนจ ากัดที่ส านักงานเป็นผู้ถือหุ้น
ให้น าความในวรรคหนึ่งไปใช้บังคับแก่รองผู้อ านวยการ เจ้าหน้าที่ และลูกจ้างของส านักงานด้วย
มาตรา ๓๓ ผู้อ านวยการมีวาระอยู่ในต าแหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้
แต่ไม่เกินสองวาระติดต่อกัน
มาตรา ๓๔ ผู้อ านวยการจะต้องได้รับการประเมินผลการปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศก าหนด
มาตรา ๓๕ นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระ ผู้อ านวยการพ้นจากต าแหน่ง เมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ออกตามที่ก าหนดไว้ในข้อตกลงระหว่างคณะกรรมการกับผู้อ านวยการ
(๔) คณะกรรมการมีมติให้ถอดถอนออกจากต าแหน่ง เพราะบกพร่องต่อหน้าที่ มีความประพฤติ
เสื่อมเสีย หรือหย่อนความสามาร ถ
(๕) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามอย่างหนึ่งอย่างใดตามมาตรา ๓๑ หรือกระท าการ
อันมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๒
(๖) ไม่ผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรา ๓๔

้ หนา ๔๔
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒มติของคณะกรรมการให้ถอดถอนผู้อ านวยการออกจากต าแหน่งตาม (๔) ต้องประกอบด้วย
คะแนนเสียงไม่น้อยกว่า สองในสามของจ านวนกรรมการเท่าที่มีอยู่ โดยไม่นับรวมต าแหน่งผู้อ านวยการ
มาตรา ๓๖ ให้ผู้อ านวยการมีหน้าที่บริหารกิจการของส านักงานให้เป็นไปตามกฎหมาย
วัตถุประสงค์ ของส านักงาน ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ นโยบาย และมติของคณะกรรมการ และ
เป็นผู้บังคับบัญชาเจ้าหน้าที่ และลูกจ้างทุกต าแหน่ง รวมทั้งให้มีหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) เสนอเป้าหมาย แผนงาน และโครงการต่อคณะกรรมการเพื่อให้การด าเนินงานของส านักงาน
บรรลุวัตถุประสงค์
(๒) เสนอแผนการเงินและงบประมาณประจ าปีต่อคณะกรรมการ
(๓) เสนอรายงานประจ าปีเกี่ยวกับผลการด าเนินงานด้านต่าง ๆ ของส านักงาน รวมทั้งรายงาน
ทางการเงินและการบัญชีต่อคณะกรรมการ
(๔) เสนอความเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงกิจการและการด าเนินงานของส านักงานให้มีประสิทธิภาพ
และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของส านักงานต่อคณะกรรมการ
ผู้อ านวยกา รต้องรับผิดชอบต่อคณะกรรมการในการบริหารกิจการของส านักงาน
มาตรา ๓๗ ผู้อ านวยการมีอ านาจ
(๑) แต่งตั้งรองผู้อ านวยการโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการเพื่อเป็นผู้ช่วยปฏิบัติงานของ
ผู้อ านวยการตามที่ผู้อ านวยการมอบหมาย
(๒) บรรจุ แต่งตั้ง เลื่อน ลด ตัดเงินเดือนหรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินัยเจ้าหน้าที่และลูกจ้าง
ตลอดจนให้เจ้าหน้าที่และลูกจ้างออกจากต าแหน่ง ทั้งนี้ ตามระเบียบหรือข้อบังคับที่คณะกรรมการ
ก าหนด
(๓) วางระเบียบเกี่ยวกับการด าเนินงานของส านักงานโดยไม่ขัดหรือแย้งกับกฎหมาย มติของ
คณะรัฐมนตรี ตลอดจน ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ นโยบาย และมติของคณะกรรมการ
มาตรา ๓๘ เมื่อผู้อ านวยการพ้นจากต าแหน่ง ให้รองผู้อ านวยการพ้นจากต าแหน่งด้วย
ในกรณีที่ผู้ด ารงต าแหน่งผู้อ านวยการไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองผู้อ านวยการเป็นผู้รักษาการแทน
ถ้ามีรองผู้อ านวยการหลายคน ให้ รองผู้อ านวยการที่ผู้อ านวยการมอบหมายเป็นผู้รักษาการแทน
ถ้าผู้อ านวยการมิได้มอบหมาย ให้รองผู้อ านวยการที่มีอาวุโสสูงสุดเป็นผู้รักษาการแทน
ในกรณีที่ไม่มีผู้ด ารงต าแหน่งผู้อ านวยการหรือไม่มีผู้รักษาการแทนผู้อ านวยการ หรือมีแต่
ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้คณะกร รมการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ของส านักงานคนหนึ่งเป็นผู้รักษาการแทน
ให้ผู้รักษาการแทนมีหน้าที่และอ านาจเช่นเดียวกับผู้อ านวยการ

้ หนา ๔๕
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ในกรณีที่มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือค าสั่งอื่นแต่งตั้งให้ผู้อ านวยการเป็นกรรมการหรือ
ให้มีหน้าที่และอ านาจอย่างใด ให้ผู้รักษาการแทนมี หน้าที่และอ านาจเป็นกรรมการหรือมีหน้าที่และ
อ านาจเช่นเดียวกับผู้อ านวยการด้วย แล้วแต่กรณี
มาตรา ๓๙ ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้ผู้อ านวยการเป็นผู้แทนของส านักงาน
เพื่อการนี้ ผู้อ านวยการจะมอบอ านาจให้บุคคลใดปฏิบัติงานเฉพาะอย่างแทนก็ได้ แต่ต้องเป็นไป
ตามระเบียบหรือข้อบังคับที่คณะกรรมการก าหนด
นิติกรรมใดที่ผู้อ านวยการหรือผู้รับมอบอ านาจจากผู้อ านวยการกระท าโดยฝ่าฝืนระเบียบหรือ
ข้อบังคับที่คณะกรรมการก าหนดย่อมไม่ผูกพันส านักงาน เว้นแต่คณะกรรมการจะให้สัตยาบัน
มาตรา ๔๐ ให้คณะกรรมการเป็นผู้ก าหนดอัตราเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่นของ
ผู้อ านวยการและรองผู้อ านวยการตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีก าหนด
มาตรา ๔๑ ให้ส านักงานวางและรักษาไว้ซึ่งระบบบัญชีที่เหมาะสมเพื่อให้สามารถจัดท า
รายงาน ทางการเงิน แสดงฐานะทางการเงิน และผลการด าเนินงานขอ งส านักงานได้อย่างถูกต้อง
ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และให้จัดท าตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการก าหนด และต้องจัดให้มี
การตรวจสอบภายในเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี และการพัสดุของส านักงาน ตลอดจนรายงานผล
การตรวจสอบให้คณะกรรมการทราบอย่างน้อยปีละครั้ง
ในการตรวจสอบภ ายใน ให้มีเจ้าหน้าที่ของส านักงานท าหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบภายในโดยเฉพาะ
และให้รับผิดชอบขึ้นตรงต่อคณะกรรมการตามระเบียบที่คณะกรรมการก าหนด
ในการแต่งตั้ง โยกย้าย เลื่อนเงินเดือน เลื่อนต าแหน่ง และลงโทษทางวินัยของผู้ตรวจสอบ
ภายใน ให้ผู้อ านวยการพิจารณาแล้วเสนอให้ คณะกรรมการให้ความเห็นชอบก่อนจึงด าเนินการได้
มาตรา ๔๒ ให้ส านักงานจัดท ารายงานทางการเงินส่งผู้สอบบัญชีภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวัน
นับแต่วันสิ้นปีบัญชี
ปีบัญชีของส านักงานให้เป็นไปตามปีงบประมาณ
มาตรา ๔๓ ให้บุคคลภายนอกซึ่งคณะกรรมการแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของส านักงา น
การตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้สอบบัญชีและประเมินผลการใช้จ่ายเงินและทรัพย์สินของส านักงาน โดยให้
แสดงความคิดเห็นเป็นข้อวิเคราะห์ว่าการใช้จ่ายดังกล่าวเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ประหยัด และได้ผล
ตามเป้าหมายเพียงใด
ให้ผู้สอบบัญชีของส านักงานท ารายงานผลการสอบบัญชีเสนอต่อ คณะกรรมการภายใน
หนึ่งร้อยห้าสิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี

้ หนา ๔๖
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒มาตรา ๔๔ ให้ส านักงานท ารายงานประจ าปีเสนอคณะรัฐมนตรีทุกสิ้นปีงบประมาณ รายงานนี้
ให้กล่าวถึงผลงานของส านักงานในปีที่ล่วงมาแล้ว รายงานทางการเงิน พร้อมทั้งรายงานของ ผู้สอบบัญชี
รวมทั้งค าชี้แจงเกี่ยวกับนโยบ ายของคณะกรรมการ โครงการและแผนงานที่จะจัดท าในภายหน้า และ
รายงานสถานการณ์วิสาหกิจเพื่อสังคมของประเทศ ตลอดจนผลสัมฤทธิ์ของการส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม
ตามพระราชบัญญัตินี้
รายงานตามวรรคหนึ่ง ให้เผยแพร่ต่อสาธารณชน
มาตรา ๔๕ การประเมินผลการด าเนินงานของส านักงานให้ด าเนินการทุกปีงบประมาณ
โดยคณะกรรมการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงานของส านักงานซึ่งคณะกรรมการแต่งตั้ง
การประเมินผลการด าเนินงานตามวรรคหนึ่ง ให้มีการประเมินผลในด้านประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
การพัฒนาองค์กร และความ คุ้มค่าในการใช้จ่ายเงิน
ส่วนที่ ๒
กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม

มาตรา ๔๖ ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในส านักงาน เรียกว่า “กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจ
เพื่อสังคม ” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาวิสาหกิจเพื่อสังคม อันจะน าไปสู่
การแก้ไขปัญหาเพื่อพัฒนาชุมชน สังคม หรือสิ่งแวดล้อม โดยประกอบด้วยเงินและทรัพย์สิน ดังต่อไปนี้
(๑) เงินสมทบและเงินเพิ่มตามมาตรา ๑๓
(๒) เงินค่าปรับทางปกครองตามพระราชบัญญัตินี้
(๓) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคหรือมอบให้แก่กองทุน
(๔) ดอกผลและผลประโยชน์ที่ เกิดจากกองทุน
(๕) เงินหรือทรัพย์สินอื่นที่ได้รับจากภาคเอกชนทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ รัฐบาล
ต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ
การรับเงินหรือทรัพย์สินตาม (๕) จะต้องไม่กระท าในลักษณะที่ท าให้กองทุนขาดความเป็นอิสระ
หรือความเป็นกลาง
มาตรา ๔๗ บรรดารายได้ของกองทุนไม่ต้องน าส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน
มาตรา ๔๘ เงินกองทุนให้ใช้จ่ายเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน ดังต่อไปนี้
(๑) ให้วิสาหกิจเพื่อสังคมกู้ยืมส าหรับด าเนินการก่อตั้ง ปรับปรุง และพัฒนากิจการของวิสาหกิจ
เพื่อสังคมนั้นให้มีประสิทธิภาพแ ละขีดความสามารถเพิ่มขึ้น
(๒) ให้ความช่วยเหลือด้านเงินทุนในการประกอบกิจการในระยะเริ่มแรก ทั้งนี้ ต้องมีก าหนดเวลา
ไม่เกินสองปี โดยสามารถขยายก าหนดระยะเวลาได้รวมแล้วไม่เกินสี่ปี

้ หนา ๔๗
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒(๓) ให้ความช่วยเหลือส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรเอกชน เพื่ อน าไป ใช้
ด าเนินงานตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม
(๔) ให้ความช่วยเหลือหรืออุดหนุน ร่วมทุน หรือด าเนินการใดร่วมกับนิติบุคคลอื่น เกี่ยวกับ
การก่อตั้ง การขยายกิจการ การวิจัย การพัฒนา และการส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคมให้มีประสิทธิภาพ
เพิ่มขึ้น
(๕) ให้ความช่วยเหลืออื่นทางการเงินตามที่ก าหนดในพระราชกฤษฎีกา
(๖) เป็นค่าใช้จ่ายในการด าเนินงานของกองทุนตามที่คณะกรรมการบริหารกองทุนก าหนด
การด าเนินการตาม (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๕) ต้องเป็นไปตามที่คณะกรรมการบริหารกองทุน
ก าหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
มา ตรา ๔๙ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารกองทุน ประกอบด้วย
(๑) ประธานกรรมการบริหารกองทุนซึ่งแต่งตั้งจากกรรมการ
(๒) กรรมการบริหารกองทุนซึ่งแต่งตั้งจากผู้แทนกระทรวงการคลังคนหนึ่ง
(๓) กรรมการบริหารกองทุนซึ่งแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิจ านวนไม่เกินสี่คน โดยจะต้องเป็น
ผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ หรือมีประสบการณ์เกี่ยวกับวิสาหกิจเพื่อสังคม การเงินการธนาคาร
การบริหารธุรกิจ หรือการลงทุน
(๔) ผู้อ านวยการเป็นกรรมการบริหารกองทุนและเลขานุการ
หลักเกณฑ์และวิธีการในการสรรหาผู้ทรงคุณวุฒิตาม (๓) ให้เป็นไปตามระเบี ยบที่คณะกรรมการ
ก าหนด
มาตรา ๕๐ ให้น าความในมาตรา ๑๖ มาตรา ๑๗ และมาตรา ๑๘ มาใช้บังคับแก่
การด ารงต าแหน่งและการพ้นจากต าแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๙ (๓) ด้วยโดยอนุโลม
เว้นแต่การพ้นจากต าแหน่งตามมาตรา ๑๘ (๓) ให้เป็นอ านาจของคณะกรรมการ
มาตรา ๕๑ คณะกรรมการบริหารกองทุนมีหน้าที่และอ านาจ ดังต่อไปนี้
(๑) ก าหนดนโยบายและควบคุมดูแลการบริหารกองทุน
(๒) พิจารณาจัดสรรเงินกองทุนเพื่อด าเนินการตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามมาตรา ๔๘
(๓) ออกระเบียบเพื่อก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการปฏิบัติการให้เป็ นไป
ตามมาตรา ๔๘ (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๕) ทั้งนี้ โดยมีการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม
(๔) ออกระเบียบเกี่ยวกับการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินกองทุน และการจัดหา
ผลประโยชน์ของกองทุน

้ หนา ๔๘
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒(๕) จัดท ารายงานการรับและการจ่ายเงินของกองทุนเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ
(๖) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี้บัญญัติให้เป็นหน้าที่และอ านาจของคณะกรรมการ
บริหารกองทุน หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
การจัดสรรเงินกองทุนตาม (๒) และการออกระเบียบตาม (๓) และ (๔) ต้องได้รับความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการ
มาตรา ๕๒ ในการพิจารณาจัดสรรเงินกองทุน ให้คณะกรรมการบริหารกองทุนพิจารณา
ให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคมที่คณะกรรมการให้ความเห็นชอบ
มาตรา ๕๓ คณะกรรมการบริหารกองทุนจะแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรื อ
ปฏิบัติการ อย่างหนึ่งอย่างใดหรือท าการแทนตามที่คณะกรรมการบริหารกองทุนมอบหมายก็ได้
ให้น าความในมาตรา ๒๐ มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะกรรมการบริหารกองทุนและ
คณะอนุกรรมการด้วยโดยอนุโลม
มาตรา ๕๔ ให้กรรมการบริหารกองทุนและอนุกรรมการได้รับเบี้ยประชุมและประโยชน์
ตอบ แทนอื่นตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีก าหนด
มาตรา ๕๕ ให้ส านักงานวางและรักษาไว้ซึ่งระบบบัญชีที่เหมาะสมเพื่อให้สามารถจัดท ารายงาน
ทางการเงิน แสดงฐานะทางการเงิน และผลการด าเนินงานของกองทุนได้อย่างถูกต้องตามหลักการบัญชี
ที่รับรองทั่วไป และให้จัดท าตามหลักเกณฑ์ที่คณะก รรมการบริหารกองทุนก าหนด
มาตรา ๕๖ ให้ส านักงานจัดท ารายงานทางการเงินของกองทุนส่งผู้สอบบัญชีภายในหกสิบวัน
นับแต่วันสิ้นปีบัญชี
ปีบัญชีของกองทุนให้เป็นไปตามปีงบประมาณ
มาตรา ๕๗ ให้บุคคลภายนอกซึ่งคณะกรรมการบริหารกองทุนแต่งตั้ง โดยความเห็นชอบ
ของส านักงานการตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้สอบบัญชี และท าการตรวจสอบรับรองบัญชีและการเงินทุกประเภท
ของกองทุนทุกรอบปีบัญชี และประเมินผลการด าเนินงานของกองทุน โดยให้แสดงความคิดเห็นเป็น
ข้อวิเคราะห์ว่าการด าเนินงานของกองทุนเป็นไปตามวัตถุประสงค์ และได้ผลตามเป้าหมายเพี ยงใด
ให้ผู้สอบบัญชีของกองทุนท ารายงานผลการสอบบัญชีเสนอต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนภายใน
หนึ่งร้อยห้าสิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี
มาตรา ๕๘ ให้ส านักงานจัดให้มีระบบการตรวจสอบภายในเพื่อตรวจสอบการด าเนินงานต่าง ๆ
ของกองทุนตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการบริหารกองทุ นก าหนด

้ หนา ๔๙
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒หมวด ๔
การส่งเสริมและสนับสนุนวิสาหกิจเพื่อสังคม

มาตรา ๕๙ วิสาหกิจเพื่อสังคมอาจได้รับการส่งเสริมและสนับสนุน ดังต่อไปนี้
(๑) ความช่วยเหลือทางการเงินจากกองทุนตามมาตรา ๔๘ (๑) (๒) และ (๕)
(๒) สิทธิประโยชน์ด้านภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร
(๓) สิทธิ ประโยชน์ตามมาตรการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐตามกฎหมายว่าด้วย
การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
(๔) สิทธิประโยชน์ตามกฎหมายอื่น
วิสาหกิจเพื่อสังคมใดจะได้รับสิทธิประโยชน์ตาม (๒) (๓) และ (๔) ในลักษณะใดให้เป็นไป
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะรัฐมนตรีก าหนดตามข้อเสนอของคณะกรรมการ
มาตรา ๖๐ ให้คณะกรรมการประกาศก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการส่งเสริม
และสนับสนุนตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๖๑ เมื่อมีการประกาศหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามมาตรา ๖๐ แล้ว
หากวิสาหกิจเพื่อ สังคมรายใดประสงค์จะได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนจากกองทุนตามมาตรา ๕๙ (๑)
ให้ยื่นค าขอพร้อมรายละเอียดโครงการต่อส านักงาน เมื่อส านักงานได้รับค าขอและรายละเอียดโครงการ
ดังกล่าวแล้ว หากเห็นสมควรให้อนุมัติการส่งเสริมและสนับสนุนตามพระราชบัญญัตินี้แก่วิสาหกิจ
เพื่ อสังคมรายนั้น
เมื่อส านักงานได้อนุมัติการส่งเสริมและสนับสนุนตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้ส านักงานมีหนังสือแจ้งให้
วิสาหกิจเพื่อสังคมรายนั้นทราบภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้อนุมัติการส่งเสริมและสนับสนุนดังกล่าว
มาตรา ๖๒ วิสาหกิจเพื่อสังคมรายใดประสงค์จะได้รับสิทธิประโยชน์ด้านภาษีอากร
ตามประมวลรัษฎากรตามมาตรา ๕๙ (๒) สิทธิประโยชน์ตามมาตรการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหาร
พัสดุ ภาครัฐตามกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐตามมาตรา ๕๙ (๓) หรือ
สิทธิประโยชน์ตามก ฎหมายอื่นตามมาตรา ๕๙ (๔) แล้วแต่กรณี ให้ด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
มาตรา ๖๓ บุคคลซึ่งให้การสนับสนุนกิจการของวิสาหกิจเพื่อสังคมอาจได้รับสิทธิประโยชน์
ด้านภาษีอากรตามที่ก าหนดไว้ในประมวลรัษฎากรเฉพาะการบริจาคเงินให้แก่กองทุนหรือให้การสนับสนุน
กิจการของวิสาหกิจเพื่อสังคม

้ หนา ๕๐
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒การสนับสนุนกิจการของวิสาหกิจเพื่อสังคมซึ่งอาจได้รับสิทธิประโยชน์ตามวรรคหนึ่ง ต้องเป็น
การลงทุนในกิจการของวิสาหกิจเพื่อสังคม หรือการให้เงินสนับสนุนกิจการหรือการด าเนินงาน การถ่ายทอด
เทคโนโลยี นวัตกรรม หรือองค์ความรู้ให้แก่วิสาห กิจเพื่อสังคมในด้านการผลิต การตลาด และ
การบริหารจัดการ
บุคคลใดจะได้รับสิทธิประโยชน์ตามวรรคหนึ่งในลักษณะใด ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขที่คณะรัฐมนตรีก าหนดตามข้อเสนอของคณะกรรมการ
มาตรา ๖๔ บุคคลซึ่งให้การสนับสนุนกิจการของวิสาหกิจเพื่อสังคมผู้ ใดประสงค์จะได้รับ
สิทธิประโยชน์ด้านภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรตามมาตรา ๖๓ ให้ด าเนินการตามประมวลรัษฎากร
มาตรา ๖๕ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรเอกชนใดตามมาตรา
๔๘ (๓) หรือนิติบุคคลอื่นตามมาตรา ๔๘ (๔) ซึ่งประสงค์จะขอรับการส่งเสริมแล ะสนับสนุนจากกองทุน
ให้ยื่นค าขอพร้อมรายละเอียดโครงการต่อส านักงาน โดยให้น าความในมาตรา ๖๑ มาใช้บังคับด้วย
โดยอนุโลม
หมวด ๕
การก ากับดูแล และการเพิกถอนการจดทะเบียน
วิสาหกิจเพื่อสังคม

มาตรา ๖๖ ให้ส านักงานมีหน้าที่ติดตามและก ากับดูแลให้วิสาหกิจเพื่อสังคมด าเนินการ
ให้เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๕ หนังสือแสดงเจตนารมณ์การจัดตั้งวิสาหกิจเพื่อสังคม
ตามมาตรา ๗ (๖) และตามที่ก าหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้
ส านักงานอาจมอบหมายให้หน่วยงานหรือบุคคลอื่นปฏิบั ติหน้าที่ตามวรรคหนึ่งแทนได้
มาตรา ๖๗ ส านักงานมีหน้าที่ในการตรวจสอบและประเมินผลกิจการของวิสาหกิจเพื่อสังคม
ที่ได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนตามพระราชบัญญัตินี้ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการก าหนด ให้เป็นไป
ตามวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๕ หนังสือแสดงเจตนารมณ์การจัดตั้งวิ สาหกิจเพื่อสังคมตามมาตรา ๗ (๖)
โดยส านักงานอาจมอบหมายให้หน่วยงานหรือบุคคลใดเป็นผู้ด าเนินการแทนและจัดท ารายงานผล
การด าเนินการเสนอต่อส านักงานได้
มาตรา ๖๘ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอ านาจเข้าไปในสถานประกอบการของวิสาหกิจเพื่อสังคม
ในระหว่างเวลาท าการ เพื่อสอบถามข้ อเท็จจริงหรือเพื่อตรวจสอบเอกสารหรือสิ่งของใด ๆ ที่เกี่ยวกับ
กิจการของวิสาหกิจเพื่อสังคมได้ตามความจ าเป็น

้ หนา ๕๑
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่จะเข้าไปในสถานที่ตามวรรคหนึ่ง ถ้าไม่เป็นการเร่งด่วนต้องแจ้ง
เป็นหนังสือให้ทราบล่วงหน้าตามสมควร
มาตรา ๖๙ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๖๘ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่แสดงบัตรประจ าตัว
ต่อบุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง
บัตรประจ าตัวตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามแบบที่ผู้อ านวยการก าหนด
มาตรา ๗๐ เมื่อปรากฏว่าวิสาหกิจเพื่อสังคมใดมีพฤติการณ์อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
(๑) ไม่ด าเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๕ และหนังสือแสดงเจตนารมณ์
การจัดตั้งวิสาหกิจเพื่อสังคมตามมาตรา ๗ (๖)
(๒) ไม่จัดท ารายงานตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ส านักงานก าหนดตามมาตรา ๑๒
(๓) ไม่น าส่งเงินสมทบเข้ากองทุนหรือน าส่งไม่ครบภายในระยะเวล าที่ก าหนดตามมาตรา ๑๓
(๔) ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามสัญญาที่ท าขึ้นกับส านักงานโดยไม่มีเหตุอันควรตามที่คณะกรรมการ
หรือคณะกรรมการบริหารกองทุนก าหนด
(๕) ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ในกรณีอื่น
เมื่อมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ให้นายทะเบียนแจ้งเตือนเป็นหนังสือให้ วิสาหกิจเพื่อสังคมปฏิบัติ
ให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่ก าหนด หากไม่มีการปฏิบัติให้ถูกต้องภายในระยะเวลาดังกล่าว ให้นายทะเบียน
เพิกถอนการจดทะเบียน เว้นแต่มีเหตุจ าเป็นตามที่คณะกรรมการประกาศก าหนด และให้ประกาศ
การเพิกถอนการจดทะเบียนให้สาธารณชนทราบเป็นการทั่วไป ในกรณีที่มีการอุทธรณ์การเพิกถอน
การจดทะเบียน ให้แจ้งในประกาศนั้นด้วยว่าอยู่ในระหว่างการพิจารณาอุทธรณ์
การเพิกถอนการจดทะเบียนตามวรรคสอง ในกรณีได้รับสิทธิประโยชน์ตามมาตรา ๕๙ (๒)
(๓) หรือ (๔) ให้ส านักงานแจ้งรายชื่อวิสาหกิจเพื่อสังคมที่ถูกเพิกถอนการจด ทะเบียนนั้น เพื่อให้
กรมสรรพากรหรือหน่วยงานอื่นของรัฐพิจารณาด าเนินการตามหน้าที่และอ านาจต่อไป
ให้น าความในวรรคสามไปใช้บังคับแก่การแจ้งหน่วยงานหรือนิติบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องด้วย
โดยอนุโลม
มาตรา ๗๑ กิจการใดที่นายทะเบียนไม่รับจดทะเบียนตามมาตรา ๘ หรือวิสาหกิจ
เพื่อสังคมใดถูกเพิกถอนการจดทะเบียนตามมาตรา ๗๐ แล้วแต่กรณี กิจการหรือวิสาหกิจเพื่อสังคมนั้น
อาจอุทธรณ์ค าสั่งดังกล่าวเป็นหนังสือต่อคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่
ได้รับแจ้งค าสั่งจากนายทะเบียน

้ หนา ๕๒
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่งประกอบ ด้วย กรรมการตามมาตรา ๑๕ (๒)
และ (๓) ประเภทละหนึ่งคน และผู้ทรงคุณวุฒิอื่นจ านวนไม่น้อยกว่าสามคนแต่ไม่เกินห้าคน ซึ่งคณะกรรมการ
แต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในด้านการเงินการคลัง ด้านกฎหมาย ด้านการพาณิชย์ หรือ
ด้านการพัฒนาสังคม
ให้คณะกรรมการวิ นิจฉัยอุทธรณ์พิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่งให้แล้วเสร็จภายใน
หกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสืออุทธรณ์
ค าวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ให้เป็นที่สุดและให้ประกาศให้สาธารณชนทราบ
เป็นการทั่วไป
มาตรา ๗๒ ให้กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ได้รับเบี้ยประชุมและปร ะโยชน์ตอบแทนอื่น
ตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีก าหนด
หมวด ๖
กลุ่มกิจการเพื่อสังคม

มาตรา ๗๓ กลุ่มกิจการเพื่อสังคมที่ประสงค์จะขอรับการส่งเสริมจากส านักงาน ให้จดแจ้งต่อ
นายทะเบียนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ส านักงานประกาศก าหนด
ประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้ก าหนดการด า เนินการของกลุ่มกิจการเพื่อสังคม และการก ากับดูแล
กลุ่มกิจการเพื่อสังคมตามความเหมาะสมแก่ประเภทของกลุ่มกิจการเพื่อสังคม
มาตรา ๗๔ ให้ส านักงานจัดให้มีมาตรการในการส่งเสริมกลุ่มกิจการเพื่อสังคมในการประกอบ
กิจการอย่างครบวงจร รวมถึงการให้การสนับสนุนในการจัดตั้ง การให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการผลิต
การใช้เทคโนโลยี การบริหารงานบุคคล การเงิน การบัญชี การตลาด และการบริหารจัดการธุรกิจด้านอื่น
ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ เพื่อให้กลุ่มกิจการเพื่อสังคมสามารถพัฒนาเป็น วิสาหกิจเพื่อสังคมได้ต่อไป
หมวด ๗
สมัชชาวิสาหกิจเพื่อสังคม

มาตรา ๗๕ ให้คณะกรรมการจัดให้มีการประชุมสมัชชาวิสาหกิจเพื่อสังคมอย่างน้อยปีละ
หนึ่งครั้ง
ให้ส านักงานก าหนดวัน เวลา และสถานที่ประชุมซึ่งต้องประกาศให้ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า
หกสิบวันก่อนวันประชุม

้ หนา ๕๓
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒การประชุมสมัชชาวิสาหกิจเพื่อสังคมให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการก าหนด
มาตรา ๗๖ สมัชชาวิสาหกิจเพื่อสังคมอาจเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณา
ด าเนินการในเรื่อง ดังต่อไปนี้
(๑) การก าหนดนโยบายและแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาการประกอบกิจการวิสาหกิจ
เพื่อสัง คมและกลุ่มกิจการเพื่อสังคม
(๒) การสร้างความร่วมมือและประสานงานระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศ และสถาบันการเงิน เพื่อส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจเพื่อสังคม
และกลุ่มกิจการเพื่อสังคม
(๓) การก าหนดแผนการส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อ สังคมแห่งชาติและกฎหมายที่เกี่ยวข้องหรือที่มี
ผลกระทบต่อการประกอบกิจการวิสาหกิจเพื่อสังคมและกลุ่มกิจการเพื่อสังคม
(๔) การปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้เป็นหน้าที่และอ านาจ
ของคณะกรรมการ หรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
มาตรา ๗๗ วิสาหกิจเพื่อสังคมและกลุ่มกิจการเพื่อสังคมใดจะเข้าร่วมประชุมสมัชชา
ให้ลงทะเบียนต่อส านักงานตามแบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการที่ส านักงานก าหนด
นอกจากผู้ลงทะเบียนตามวรรคหนึ่ง ส านักงานจะก าหนดให้เชิญบุคคล ผู้แทนหน่วยงานของรัฐ
หรือองค์กรภาคเอกชนตามที่เห็นสมควรมาร่วมประชุมด้วยก็ได้
หมวด ๘
โทษทางปกครอง

มาตรา ๗๘ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๙ ต้องช าระค่าปรับทางปกครองในอัตราไม่เกินสองหมื่นบาท
ในกรณีที่เห็นสมควร พนักงานเจ้าหน้าที่อาจมีค าสั่งให้ผู้นั้นด าเนินการใด ๆ เพื่อแก้ไข หรือ
ปรับปรุง หรือปฏิบัติให้ถูกต้อง ภายในระยะเวลาที่ก าหนด แต่ต้องไม่เกินสามสิบวัน
มาตรา ๗๙ ถ้าผู้ถูกปรับตามมาตรา ๗๘ ไม่ช าระค่าปรับทางปกครอง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่
มีอ านาจฟ้องคดีต่อศาลที่มีเขตอ านาจในการพิจารณาคดีอาญาเพื่อบังคับช าระค่าปรับทางปกครอง ในกา รนี้
ถ้าศาลพิพากษาให้ช าระค่าปรับทางปกครอง หากผู้นั้นไม่ช าระค่าปรับทางปกครองภายในสามสิบวันนับแต่
วันที่ศาลมีค าพิพากษา ให้ยึดทรัพย์สินของผู้นั้นเพื่อชดใช้แทนค่าปรับทางปกครอง แต่มิให้น ามาตรการ
กักขังแทนค่าปรับมาใช้บังคับแก่ผู้นั้น

้ หนา ๕๔
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒มาตรา ๘๐ ถ้าบุคคลผู้ฝ่าฝืนมาตรา ๙ มิได้ปฏิบัติตามค าสั่งตามมาตรา ๗๘ วรรคสอง
ผู้นั้นต้องช าระค่าปรับรายวันอีกวันละห้าร้อยบาทตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามหรือจนกว่า
จะปฏิบัติให้ถูกต้อง
มาตรา ๘๑ ในกรณีที่ผู้กระท าความผิดได้ปฏิบัติถูกต้องหรือได้ด าเนินการแก้ไข ปรับปรุง
ภายในระยะเวลาที่พนักงานเจ้าหน้าที่ก าหนดตามมาตรา ๗๘ วรรคสอง ให้ผู้นั้นได้รับยกเว้นค่าปรับ
ตามมาตรา ๘๐
มาตรา ๘๒ ถ้าผู้กระท าความผิดตามมาตรา ๗๘ เป็นนิติบุคคล และการกระท าความผิดนั้น
เกิดจากการสั่งการหรือการกระท าของกรรมการหรือผู้จัดการ หรือบุคคลใดซึ่ งรับผิดชอบในการด าเนินงาน
ของนิติบุคคลนั้น หรือในกรณีที่บุคคลดังกล่าวมีหน้าที่ต้องสั่งการหรือกระท าการและละเว้นไม่สั่งการหรือ
ไม่กระท าการจนเป็นเหตุให้นิติบุคคลนั้นกระท าความผิด ผู้นั้นต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้ส าหรับ
ความผิดนั้นด้วย
บทเฉพาะกาล

มาตรา ๘๓ ให้ คณะกรรมการสร้ างเสริ มกิ จการเพื่ อสั งคมแห่ งชาติ ตามระเบี ยบส านั ก
นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบ
ส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ปฏิ บัติ
หน้าที่คณะกรรมการ ส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคมตามพระราชบัญญัตินี้ไปพลางก่อน จนกว่าจะได้มีการแต่งตั้ง
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ตามมาตรา ๑๕ (๓) ทั้งนี้ ต้องแต่งตั้งให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่
พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา ๘๔ ในระหว่างที่ยังไม่มี การแต่งตั้งผู้อ านวยการ ให้อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและ
สวัสดิการ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ านวยการไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการแต่งตั้งผู้อ านวยการตามมาตรา ๒๙
ซึ่งต้องกระท าให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา ๘๕ บุคคลใดใช้ค าว่า “วิสาหกิจเพื่อสังคม ” ประกอบเป็นชื่อในการด าเนินกิจการ
เกี่ยวกับการผลิต การจ าหน่ายสินค้า การบริการ หรือการอื่น ๆ อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้
ใช้บังคับ ถ้าประสงค์จะเป็นวิสาหกิจเพื่อสังคมตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ยื่นค าขอจดทะเบียนตามมาตรา ๕
และมาต รา ๗ ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และเมื่อได้ยื่นค าขอแล้ว
ให้ประกอบกิจการโดยใช้ค าว่า “วิสาหกิจเพื่อสังคม ” ต่อไปได้จนกว่าจะได้รับแจ้งค าสั่งไม่รับจดทะเบียน
จากนายทะเบียน

้ หนา ๕๕
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ในกรณีที่นายทะเบียนมีค าสั่งไม่รับจดทะเบียน ให้บุคคลนั้ นด าเนินการแก้ไขเพื่อให้เป็นไป
ตามพระราชบัญญัตินี้ให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งค าสั่งไม่รับจดทะเบียน
มาตรา ๘๖ กิจการเพื่อสังคมที่ได้รับหนังสือรับรองจากคณะกรรมการสร้างเสริมกิจการ
เพื่อสังคมแห่งชาติตามประกาศคณะกรรมการสร้างเสริมกิจการเพื่อสั งคมแห่งชาติ ว่าด้วยหลักเกณฑ์
และวิธีการยื่นค าขอหนังสือรับรองกิจการเพื่อสังคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ให้ถือว่าเป็นวิสาหกิจเพื่อสังคม
ตามพระราชบัญญัตินี้ โดยต้องด าเนินการให้ครบถ้วนถูกต้องตามมาตรา ๕ และมาตรา ๗ ภายใน
หนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใ ช้บังคับ
มาตรา ๘๗ ในวาระเริ่มแรก ให้กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการด าเนินงานในหน้าที่ของส านักงาน
ไปพลางก่อนจนกว่าจะได้มีการจัดตั้งส านักงานซึ่งต้องกระท าให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่
วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา ๘๘ ในวาระเริ่มแรก ให้ส านักงานส่ งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ส านักงาน
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ส านักงบประมาณ และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องร่วมกัน พิจารณา
ก าหนดงบประมาณ โครงสร้าง และกรอบอัตราก าลังเจ้าหน้าที่และลูกจ้าง รวมทั้ง การด าเนินการอื่นใด
อันจ าเป็น เพื่อรองรับการด าเนินการตามหน้าที่และอ านาจของส านักงานตามพระราชบัญญัตินี้ ภายใน
เก้าสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา ๘๙ ในวาระเริ่มแรก ให้รัฐบาลพิจารณาจัดสรรงบประมาณเป็นเงินอุดหนุนให้แก่
ส านักงานในการจัดจ้างเจ้าหน้าที่หรือลูกจ้างเพื่อปฏิบัติงา นในส านักงานไปพลางก่อน ทั้งนี้ ต้องด าเนินการ
ให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
ให้เจ้าหน้าที่หรือลูกจ้างตามวรรคหนึ่ง จัดท าประกาศตามมาตรา ๕ และมาตรา ๗ และ
จัดท าระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศเกี่ยวกับส านักงานตามมาตรา ๑๙ (๑ ๐) ตามที่คณะกรรมการ
ก าหนด เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ

ผู้รับสนองพระ บรม ราชโองการ
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
นายกรัฐมนตรี

้ หนา ๕๖
่เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้ พระราชบัญญัติ ฉบับนี้ คือ โดยที่การประกอบธุรกิจที่มีวัตถุประสงค์หลัก
เพื่อส่งเสริมการจ้างงานแก่บุคคลผู้สมควรได้รับการส่งเสริมเป็นพิเศษ การแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาชุมชน สังคม
หรือสิ่งแวดล้อม หรือเพื่อประโยชน์ส่วนรวมอื่นหรือคืนประโยชน์ให้แก่สังคมอันเป็นกิจการเพื่อสัง คม
หรือวิสาหกิจเพื่ อสังคม สมควรได้รับการส่งเสริมให้ขยายตัวมากขึ้นและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
ทางการค้าทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ โดยก าหนดมาตรการในการสนับสนุนวิสาหกิจเพื่อสังคม
ที่ได้รับการจดทะเบียน และจัดตั้งส านักงานส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคมเพื่อให้ความช่วยเหลือและพั ฒนา
วิสาหกิจ เพื่อสังคมและกลุ่มกิจการเพื่อสังคม รวมทั้งประสานความร่วมมือกับภาคส่วนต่าง ๆ ให้เป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ จึงจ าเป็นต้องตรา พระราชบัญญัติ นี้